1 / 336

การจัดทำเอง

Download Presentation

การจัดทำเอง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการฝึกอบรมหลักสูตรวิชา “การบริหารงานพัสดุอย่างมีประสิทธิภาพและตรวจสอบพัสดุอย่างสร้างสรรค์”บรรยายโดยคุณรวีวัลย์ แสงจันทร์ผู้อำนวยการกลุ่มงานระเบียบว่าด้วยการพัสดุสำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง โทร. ๐๒ ๒๗๓๙๐๒๔ ต่อ ๔๕๕๑-๔๕๕๓ www.gprocurement.go.th(สงวนลิขสิทธิ์)

  2. การพัสดุ หมายความว่า การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การแลกเปลี่ยน การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การเช่า การควบคุม การจำหน่าย การดำเนินการอื่น ๆ ที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้

  3. กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานพัสดุที่ควรรู้

  4. ศึกษา กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง ระเบียบสำนักนายก รัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕/และ พ.ศ.๒๕๔๙ พรบ.ความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.๒๕๔๒ พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.๒๕๐๒ และ ระเบียบบริหารงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๖และที่แก้ไขเพิ่มเติม พรบ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

  5. ศึกษา กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง(ต่อ) ประกาศ คณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน เรื่องการจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อ จัดจ้าง พ.ศ.๒๕๔๖ พรบ.ที่ราชพัสดุ พ.ศ.๒๕๑๘ พรบ.ความผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.๒๕๓๙ ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วย วิน้ยทางงบประมาณ และการคลัง พ.ศ. ๒๕๔๔

  6. ศึกษา กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง(ต่อ) พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๑๘ ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลังและการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ พ.ศ.๒๕๕๐ ระเบียบกระทรวง การคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการพ.ศ.๒๕๔๗ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙

  7. ศึกษา มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง มติครม.นร๐๒๐๒/ว ๑ ลว.๓ม.ค.๒๕๓๗ เรื่อง มาตรการป้องกันหรือลดโอกาสในการสมยอมกันในการเสนอราคา มติครม.สร๐๒๐๓/ว๕๒ ลว.๒๘มี.ค.๒๕๒๐ เรื่องการระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ มติครม.นร๐๒๐๒/ว๘๐ ลว.๓ม.ค.๒๕๓๗ เรื่อง การปรับปรุงแก้ไขวิธีการประกวดราคาจ้างก่อสร้างของทางราชการ

  8. ศึกษา มติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้อง(ต่อ) มติครม. ที่นร ๐๕๐๖/๒๓๖๒ ลว.๑๔ ก.พ.๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์การกำหนดราคากลางงานก่อสร้าง มติครม.นร๐๒๐๕/ว ๔๔ ลว.๒๒มี.ค.๒๕๓๖ เรื่อง การจ้างเอกชนออกแบบและควบคุมงาน มติครม.ด่วนมาก ที่น.ว. ๑๐๕/๒๕๐๔ ลว.๑๘ ต.ค.๒๕๐๔เรื่อง หลักเกณฑ์การร้องขอถอนชื่อออกจากบัญชีรายชื่อผู้ละทิ้งงาน

  9. ศึกษา มติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) มติครม.๒๘ ก.ค.๒๕๕๒ ยกเว้นการจัดหาพัสดุจากเงินกู้ภายในประเทศ สำหรับโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ๒๕๕๕ มติครม. 29 พ.ค. 50 ที่ นร 0505/ว 83 ลว. 30 พ.ค. 50 ** มติ ครม. 21 เม.ย. 52 - ด่วนที่สุด ที่ นร 0505/ว 89 ลว. 28 เม.ย. 52 ** เรื่อง การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเป็นกิจการของคนไทย

  10. ศึกษา มติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) มติครม.เกี่ยวกับมาตรการเร่งรัดการใช้จ่ายเงินภาครัฐ (แต่ละปี) มติครม.เกี่ยวกับมาตรการช่วยเหลือ ผู้ประกอบอาชีพก่อสร้าง (แต่ละปี)

  11. พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ • มาตรา ๒๓ วรรคแรก • ห้ามมิให้จ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี หรือ พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม • จนกว่าจะได้รับอนุมัติเงินประจำงวดแล้ว ฯลฯ ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณของสำนักงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๘ ข้อ ๑๘, ๒๓ , ๒๔ , ๒๕, ๒๖ เรื่อง การโอน เปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย

  12. พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐มาตรา ๙(๑)และ(๘) กำหนดว่า (๑) ผลการพิจารณาหรือคำวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชน ข้อมูลข่าวสารที่รัฐต้องจัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดู ได้แก่ (๘) ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่ คณะกรรมการกำหนด

  13. ประกาศคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการลงวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๓ บทลงโทษ -ผู้ฝ่าฝืนคำสั่งคกก.ไม่ให้ถ้อยคำ/ชี้แจง/ส่งหลักฐาน/ตามตามมาตรา ๓๒ จำคุกไม่เกิน ๓ เดือนปรับไม่เกิน ๕ พันบาท หรือทั้งจำ/ปรับ -ฝ่าฝืนม.๒๐จำคุกไม่เกิน๑ ปีปรับไม่เกิน ๒ หมื่นหรือทั้งจำและปรับ เรื่อง กำหนดให้หน่วยงาน ของรัฐ จัดทำข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างไว้ให้ประชาชนตรวจดูได้ตามมาตรา ๙(๘) แห่ง พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ วิธีปฏิบัติ ได้แก่ 1. สรุปผลการจัดหา วัน/เดือน/ปี /งาน /วงเงินจัดหา วิธีจัดหา ชื่อผู้เสนอราคา ผู้ชนะราคา เหตุผลที่คัดเลือกรายนั้น 2.ทำตามแบบ สขร.1

  14. พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒ • โทษจำคุกตั้งแต่ ๑ ปีถึง ๑๐ ปี และปรับตั้งแต่ ๒๐,๐๐๐บาท – ๒๐๐,๐๐๐บาท มาตรา ๑๐ กำหนดบทลงโทษเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจ อนุมัติ พิจารณา ดำเนินการเกี่ยวกับการเสนอราคา • รู้ หรือควรจะรู้ว่า มีพฤติการณ์/หรือปรากฏว่ามีการกระทำผิดตาม พ.ร.บ.นี้ • ไม่เสนอยกเลิก

  15. พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒(ต่อ) • มาตรา ๑๑ กำหนดลงโทษเจ้าหน้าที่หรือผู้ได้รับมอบหมายจากหน่วยงาน:- • ทุจริต ออกแบบ กำหนดราคา กำหนดเงื่อนไขอันเป็นมาตรฐานในการเสนอราคา • มุ่งหมายมิให้มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม • ช่วยเหลือผู้เสนอราคารายใดให้เข้าทำสัญญา • กีดกันมิให้เข้าเสนอราคาอย่างเป็นธรรม • โทษจำคุก 5 ปี-20ปี/ตลอดชีวิต+ปรับ 100,000-400,000บาท

  16. พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒(ต่อ) • มาตรา ๑๒ เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำผิดตาม พ.ร.บ.นี้ • กระทำการโดยมุ่งหมายมิให้มีการแข่งขันเพื่อเอื้ออำนวยผู้เสนอราคาให้เป็นผู้มีสิทธิทำสัญญา • โทษจำคุก ๕ ปี – ๒๐ ปีหรือตลอดชีวิตและปรับ 100,000 - 400,000 บาท

  17. พ.ร.บ. ที่ราชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๑๘ • ที่ราชพัสดุ หมายถึง ““อสังหาริมทรัพย์ ” • อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินทุกชนิด ยกเว้น สาธารณสมบัติ... • กฎกระทรวง ฉบับที่๑๑(พ.ศ.๒๕๓๗)ลว.๑๙ ต.ค.๓๗ • การดำเนินการต่อไปนี้ให้บังคับตามกฎกระทรวง เช่น • การโอนกรรมสิทธิ์ การขาย/แลกเปลี่ยน /การให้ /การโอนคืนให้แก่ผู้ยกให้ ให้แจ้งกรมธนารักษ์(ธนารักษ์จังหวัดแล้วแต่กรณีดำเนินการ หรือทำหนังสือมอบอำนาจให้ดำเนินการแทน)

  18. พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ องค์ประกอบของการกระทำละเมิด • ผู้ใดทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย • กระทำโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่อ • ให้เขาเสียหาย แก่ชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใด • ผู้ทำละเมิดต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน

  19. ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ • กระทำไปด้วยความจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง • เจ้าหน้าที่ผู้ทำละเมิดจะรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เมื่อ โดยมิต้องให้ใช้เต็มจำนวน ของความเสียหายก็ได้ ต้องคำนึงถึงระดับความร้ายแรงแห่งการกระทำและความ เป็นธรรมในแต่ละกรณีเป็นเกณฑ์

  20. ความรับผิดของเจ้าหน้าที่(ต่อ)ความรับผิดของเจ้าหน้าที่(ต่อ) ไม่นำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมมาใช้บังคับ • ถ้าการกระทำ • ละเมิดเกิดจาก • -ความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐหรือระบบการดำเนินงานส่วนรวม • ให้หักส่วนแห่งความรับผิดดังกล่าวออกด้วย เจ้าหน้าที่แต่ละคน ต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเฉพาะส่วนของตนเท่านั้น

  21. กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นผู้กระทำละเมิดอันเนื่องมาจากการปฏิบัติหน้าที่กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นผู้กระทำละเมิดอันเนื่องมาจากการปฏิบัติหน้าที่ • แต่ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใด • ให้ถือว่ากระทรวงการคลังเป็นหน่วยงานของรัฐที่ต้องรับผิด หน่วยงานของรัฐต้องรับผิด ต่อผู้เสียหาย ผู้เสียหายอาจฟ้องหน่วยงานของรัฐดังกล่าวได้โดยตรง -แต่จะฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้

  22. การกระทำละเมิดที่ไม่ใช่เกิดจากการปฏิบัติการตามหน้าที่การกระทำละเมิดที่ไม่ใช่เกิดจากการปฏิบัติการตามหน้าที่ เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดในการนั้นเป็นการเฉพาะตัว ผู้เสียหายอาจฟ้องเจ้าหน้าที่ได้โดยตรง จะฟ้องหน่วยงานของรัฐไม่ได้

  23. ระยะเวลาเรียกค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ระยะเวลาเรียกค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ • อายุความ 2 ปี นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐ • รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่ ผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน • อายุความ 1 ปี นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นขอกระทรวงการคลัง • เฉพาะกรณีหน่วยงาน • เห็นว่าเจ้าหน้าที่ผู้นั้นไม่ต้องรับผิด • แต่กระทรวงการคลังตรวจสอบเห็นว่าต้องรับผิด

  24. ระเบียบคณะกก.ตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ.๒๕๔๔ • ไม่ปิด/ส่งประกาศ/ไม่ซื้อ/จ้างรายต่ำโดยไม่มีเหตุผล, • ทำสัญญามิชอบ,ผู้ควบคุมงาน/ตรวจการจ้างปฏิบัติมิชอบ,การตรวจรับพัสดุ,ลงบัญชี/ทะเบียน,เบิกจ่าย ตรวจสอบพัสดุ มิชอบ • กำหนดความผิดเกี่ยวกับการพัสดุ (ข้อ ๓๗-๔๙) อันเป็นเหตุให้ทางราชการเสียหาย ได้แก่ • แบ่งซื้อ-แบ่งจ้าง,/จัดซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้าง/ การปฏิบัติ/ ละเว้นการปฏิบัติโดยมิชอบ/ • การกำหนดราคากลาง/การกำหนด Specification ของสิ่งของที่ซื้อหรือจ้าง ในการประกวด/สอบราคา ที่มิชอบ บทลงโทษ ปรับทางปกครองมี๔ชั้น หักเงินเดือนชั้น ๑/๑ เดือน (๒/๒-๔)(๓/๕-๘)(๔/๙-๑๒)

  25. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๕๐ • มาตรา 38 กำหนดอำนาจในการสั่ง /อนุญาต/ อนุมัติ/ การปฏิบัติราชการหรือดำเนินการอื่นที่ผู้ดำรงตำแหน่งใดจะพึงปฏิบัติหรือดำเนินการตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งใดหรือมีมติคณะรัฐมนตรีในเรื่องใดถ้ากฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งนั้น หรือ มติคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้น • มิได้กำหนดเรื่องการมอบอำนาจไว้เป็นอย่างอื่น • หรือมิได้ห้ามเรื่องการมอบอำนาจไว้ • ผู้ดำรงตำแหน่งนั้น อาจมอบให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นในส่วนราชการเดียวกัน หรือส่วนราชการอื่น หรือผู้ว่าฯ ได้ตามหลักเกณฑ์แลเงื่อนไขที่กำหนดในพ.ร.ฎ.การมอบอำนาจให้ทำเป็นหนังสือ

  26. พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ • มาตรา ๓ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตาม กม.ต่างๆ ให้เป็นไปตามที่กำหนดในพ.ร.บ.นี้ เว้นแต่มีกำหนดไว้เฉพาะ คำสั่งทางปกครองหมายความว่า • การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลเช่น การสั่งการ การอนุญาต อนุมัติ วินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง การรับจดทะเบียน เป็นต้น ซึ่งมีผลดังนี้ • -เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อ สถานภาพ หรือสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการ ชั่วคราวหรือถาวร /หรือ การอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง

  27. กฎกระทรวงฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๔๓)(ออกตามพ.ร.บ. วิฯปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙) ให้การดำเนินการของเจ้าหน้าที่ดังต่อไปนี้ เป็นคำสั่งทางปกครอง การอนุมัติสั่งซื้อ จ้าง/ แลกเปลี่ยน เช่า/ ขาย /ให้เช่า หรือให้สิทธิประโยชน์ การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคำเสนอหรือการดำเนินการอื่นในลักษณะเดียวกัน การสั่งรับ / ไม่รับคำเสนอขาย รับจ้าง /แลกเปลี่ยน /เช่า ขาย /ให้เช่า หรือให้สิทธิประโยชน์ การสั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน การให้ /ไม่ให้ทุนการศึกษา

  28. ลักษณะคำสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วย กม. • ออกคำสั่งโดยไม่มีอำนาจ (ออกโดยเจ้าหน้าที่อื่น ไม่ได้รับมอบอำนาจ) • ออกคำสั่งนอกเหนืออำนาจ (ทำเกินกว่าอำนาจที่กม.ให้ไว้) • ไม่ถูกต้องตามกม. (เนื้อหาของคำสั่งขัด/แย้งต่อกม.) • ไม่ถูกต้องตามรูปแบบขั้นตอน หรือวิธีการอันเป็นสาระสำคัญ • ไม่สุจริต(การใช้อำนาจเพื่อประโยชน์ส่วนตัว) • เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม (ขัดต่อหลักความเสมอภาค) • สร้างขั้นตอนโดยไม่จำเป็น (เกินขอบเขตแห่งความจำเป็นที่กม.กำหนด) • สร้างภาระเกินสมควร (เป็นการกระทำที่ขัดต่อหลักความได้สัดส่วน) • ใช้ดุลพินิจโดยไม่ชอบ (เกินกว่าที่วิญญูชนจะรับฟังได้)

  29. ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ.๒๕๕๑ ข้อ ๒๔ การเบิกเงินสำหรับซื้อ/จ้าง/เช่า ตามระเบียบฯพัสดุ ที่มีใบสั่งซื้อ/ใบสั่งจ้าง /สัญญา หรือ ข้อตกลง ซึ่งมีวงเงินตั้งแต่ ๕,๐๐๐บาทขึ้นไป -ให้ทำใบ POเพื่อกรมบัญชีกลางจะโอนจ่ายเงินเข้าบัญชีเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิโดยตรง และให้ดำเนินการขอเบิกเงินจากคลังไปชำระหนี้โดยเร็ว อย่างช้าไม่เกิน ๕ วันทำการนับจาก วันตรวจรับทรัพย์สิน/งาน ถูกต้อง หรือนับจากได้รับแจ้งจากหน่วยงานย่อย

  30. ระเบียบกระทรวงการคลังระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการพ.ศ.๒๕๔๗ ข้อ ๖ ให้ส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ มีเงินไว้ทดรองราชการตามที่กระทรวง การคลังกำหนด ข้อ.๗ ให้แบ่งสรรให้หน่วยงานในสังกัดตามความเหมาะสม/ข้อ๙ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินจากคลังโดยอนุโลม ข้อ ๑๖.ระยะต้นปีงบประมาณ หากยังไม่ได้รับอนุมัติเงินประจำงวดให้จ่ายเงินทดรองฯไปก่อนได้ ระเบียบฯ ข้อ )๑๔ เงินทดรองฯให้จ่ายได้เฉพาะ:- (๑)ค่าจ้างลูกจ้างรายวัน/หรือเมื่อเสร็จงานที่จ้าง(๒)งบดำเนินงาน ยกเว้นค่าน้ำ/ไฟ/(๓)งบกลาง เฉพาะค่าศึกษาบุตร,ค่ารักษาพยาบาล (๔)งบอื่นที่จ่ายในลักษณะเช่นเดียวกับ(๑) หรือ (๒)

  31. มติคณะรัฐมนตรี และหนังสือเวียน ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง ค้นหาได้จากเว็บไซต์ www.cgd.go.th www.gprocurementd.go.th www.cabinet.thaigov.go.th www.oag.go.th

  32. ประเด็นปัญหา • ปัจจัยเสี่ยง • ที่อาจเกิดขึ้น • จากการบริหารงานพัสดุ

  33. เจ้าหน้าที่พัสดุ/คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้ง ไม่มีความรู้/ชำนาญโดยเฉพาะ ในเรื่องการจัดซื้อ/จ้าง ระเบียบฯพัสดุ อ่าน/เข้าใจยาก/ตีความได้หลายความหมาย ทำให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติ มีการแบ่งซื้อ/แบ่งจ้าง, -กำหนดเวลาเผยแพร่ประกาศ หรือการทำหน้าที่ของคณะกรรมการต่างๆ ไม่ถูกต้อง

  34. มีการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่นักการเมืองมีการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่นักการเมือง กลุ่มธุรกิจ หรือเข้าไปแทรกแซง/ครอบงำการทำงานของเจ้าหน้าที่ เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ทุจริตคอรัปชั่นจากโครงการ/งบประมาณการซื้อ/จ้างขนาดใหญ่ ไม่มีการจัดทำแผนการจัดหาพัสดุอย่างเป็นรูปธรรม ทำให้มีการซื้อ/จ้างไปเรื่อย ๆ/ใกล้สิ้นปี เร่งรีบจัดหาให้แล้วเสร็จ/ทำให้จัดหาและกันเงิน ไม่ทัน/เงินพับไป ขาดประสานงานระหว่างขั้นตอนต่างๆ ทำให้เกิดล่าช้า เช่น -การจัดทำ/ปรับปรุงSpecไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้งาน/ล่าช้า/ต้องรอSpecจากหน่วยงานอื่น รอใบเงินประจำงวด/ไม่เร่งรัดการพิจารณาของกรรมการ /ส่งผลให้ขั้นตอนอื่นเกิดขัดข้องตามไปด้วย

  35. ข้อเสนอแนะ -ทำคู่มือ/ฝึกอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ให้มีความเข้าใจ กฎหมาย,ระเบียบ,มติครม.เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ ในฐานะคณะกรรมการได้อย่างถูกต้อง -เสริมสร้างจรรยาบรรณข้าราชการประจำ/ นักการเมือง/ นักธุรกิจ/สื่อมวลชน/ -ให้มีจิตสำนึก/รับผิดชอบต่อสังคม/ละอายต่อ การกระทำที่พยามแสวงหาผลประโยชน์แก่ ตนเอง หรือพวกพ้องจากเงินของแผ่นดิน -ยกย่องคนดีมีคุณธรรม ฯลฯ

  36. กระบวนการบริหารงานพัสดุกระบวนการบริหารงานพัสดุ ตาม ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

  37. การบริหารงานพัสดุประกอบด้วยการบริหารงานพัสดุประกอบด้วย การบริหารด้าน การเงิน/ งบประมาณ การบริหารด้านบุคลากร การบริหารด้าน การจัดซื้อ/จัดจ้าง

  38. แผนผังขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้างแผนผังขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้าง ๑ ก่อนการจัดซื้อจัดจ้างทุกวิธี -ให้จัดทำรายงาน ขอซื้อ/จ้าง เพื่อขอความเห็นชอบ หส.ราชการก่อนทุกครั้ง ซื้อ/จ้างทั่วไป (ต้องมีรายการตามข้อ๒๗) เจ้าหน้าที่พัสดุ ซื้อที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง(ข้อ๒๘) หัวหน้าส่วนราชการ ๒ พิจารณาให้ความเห็นชอบรายงาน ขอซื้อ/จ้าง (ข้อ ๒๙) ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง(ข้อ ๓๔) ลงนามประกาศสอบราคา/ประกวดราคา

  39. เมื่อได้รับความเห็นชอบตามรายงานขอซื้อ/ขอจ้างแล้ว -ให้เจ้าหน้าที่พัสดุดำเนินการจัดหาตามวิธีต่างๆ วิธีตกลงราคา(ไม่เกิน๑แสน) (ข้อ ๑๙,๓๙) วิธีสอบราคา (เกิน๑แสน-๒ล้าน) (ข้อ ๒๐,๔๐-๔๓) วิธีประกวดราคา เกิน๒ล้านขึ้นไป (ข้อ ๒๑,๔๔-๕๖) วิธีพิเศษ (เกิน๑ แสนขึ้นไป) (ซื้อข้อ ๒๓,๕๗-จ้างข้อ ๒๔,๕๘) วิธีกรณีพิเศษ ไม่จำกัดวงเงิน (ข้อ ๒๖,๕๙)

  40. ได้ตัวผู้ขาย/รับจ้างแล้ว ให้คณะกรรมการฯทำบันทึกรายงานเสนอขออนุมัติสั่งซื้อ/จ้าง(ผ่านหน.จนท.พัสดุ) ๔ ผู้มีอำนาจอนุมัติให้สั่งซื้อ/จ้างได้ตามที่คณะกรรมการเสนอ (ข้อ๖๕,๖๖,๖๗) ๕ บริหารสัญญา/ข้อตกลง (แก้ไข/งด,ลดค่าปรับ,ขยายเวลา (๑๓๙) -บอกเลิกสัญญา ( ๑๓๗-๑๓๘-๑๔๐) -สั่งทิ้งงาน (ข้อ ๑๔๕-๑๔๕ สัตต) ทำสัญญา/บันทึกข้อตกลง ข้อ ๑๓๒,๑๓๓ ๖ ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้างข้อ ๗๑ , ๗๒ ๗ เบิกจ่ายเงิน ๘

  41. ลงบัญชี/ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สินข้อ๑๕๑-๑๕๒ลงบัญชี/ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สินข้อ๑๕๑-๑๕๒ ๙ ส่ง/แจกจ่ายพัสดุไปยังหน่วยของผู้ใช้งาน (เบิก-จ่ายพัสดุ) ข้อ ๑๕๓-๑๕๔ ๑๐ การบำรุงรักษาพัสดุ ให้มีความคงทน /อยู่ในสภาพที่ดี สามารถใช้ได้ตลอดอายุการใช้งาน ๑๑

  42. ๑๒ การตรวจสอบพัสดุประจำปี (ข้อ๑๕๕-๑๕๖) การจำหน่ายพัสดุ ข้อ ๑๕๗-๑๖๑ ๑๓ ก่อนสิ้นเดิอนกันยายนทุกปี -หส.ราชการ-แต่งตั้งคกก. ที่มิไช่จนท.พัสดุตรวจ -ให้เริ่มตรวจวันทำการแรกของเดือนตุลาคม/ ให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐วันทำการ นับจากตรวจ พัสดุใดหมดความจำเป็นใช้งาน สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก เสนอหส.ราชการเพื่อสั่งจำหน่าย แลกเปลี่ยน ขาย/ทอดตลาด หากพบว่าเสื่อมสภาพ,ชำรุด /สูญหายให้แต่งตั้งคกก.สอบข้อเท็จจริง แปรสภาพ/ทำลาย โอน

  43. การบริหารงานพัสดุ ด้านการเงิน

  44. การกำหนดความต้องการพัสดุการกำหนดความต้องการพัสดุ เพื่อขอตั้งงบประมาณ มี ๒ ด้าน

  45. ๑.ความต้องการด้านนโยบาย๑.ความต้องการด้านนโยบาย ๒.ความต้องการด้านภารกิจปกติ ขอตั้งงบประมาณเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงานสำรวจรายละเอียดโครงการ/แผนกลยุทธ์ เช่น ตั้งงบประมาณ ในการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ในสำนักงาน เป็นต้น รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ ขอตั้งงบประมาณให้สัมพันธ์กัน เช่น ก่อสร้างอาคาร /ต้องตั้งงบประมาณในการจ้างออกแบบ,จ้างควบคุมงาน/ จ้างที่ปรึกษา/มีค่าครุภัณฑ์ภายในตัวอาคาร?มีค่าตอบแทนคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง? เป็นต้น

  46. เงินงบประมาณ ที่จะนำมาใช้กับการจัดซื้อจัดจ้างได้แก่ เงินที่รมต.ว่าการกระทรวงการคลังอนุญาตให้ไม่ต้องนำส่งคลัง/ เช่นเงินรายได้ของสถานศึกษา เงินงบประมาณรายจ่าย เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ เงินกู้ ที่ กค. กู้จากต่างประเทศ

  47. เงินนอกงบประมาณ ไม่อยู่ในบังคับระเบียบนี้ เช่น เงินกองทุน เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย

  48. การบริหารงบประมาณที่ได้รับ ก่อนการจัดหาพัสดุ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากจำเป็นต้องโอน/เปลี่ยนแปลงรายการเงินงบประมาณ หัวหน้าส่วนราชการมีอำนาจดังนี้ ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณของสำนักงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๘ โดยไม่ทำให้เป้าหมาย ผลผลิต หรือโครงการตามแผนภายใต้แผนงบประมาณเดียวกันโดยไม่เพิ่มวงเงินมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ลดลงในสาระสำคัญให้กระทำได้โดยไม่ต้องตกลงกับสำนักงบประมาณภายในวงเงิน/ต่อหน่วย ๑.) ครุภัณฑ์ ไม่เกิน ๑ ล้านบาท ๒.ที่ดินและสิ่งก่อสร้างไม่เกิน ๑๐ล้าน • ข้อ๑๘ ข้อ ๒๓ วรรคสอง และข้อ๒๔ สรุปว่า • ในกรณีที่ส่วนราชการ...มีความจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงรายละเอียดรายการในการจัดหาครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ในงบลงทุน งบเงินอุดหนุน หรืองบรายจ่ายอื่น ที่ไม่เป็นการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ

  49. การบริหารการจัดหาพัสดุกรณีเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรไม่เพียงพอ หัวหน้าส่วนราชการสามารถกระทำได้ ดังนี้ ระเบียบบริหารงบประมาณฯ ข้อ ๒๖ กำหนดว่า กรณีไม่อาจจัดหาครุภัณฑ์ หรือรายการสิ่งก่อสร้างนั้น ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม ให้หัวหน้าส่วนราชการ หรือหัวหน้ารัฐวิสาหกิจ มีอำนาจโอน เปลี่ยนแปลงรายการรายจ่ายได้ โดยมีวิธีปฏิบัติดังนี้ ๓.กรณีที่มีเงินนอกงบประมาณสมทบอยู่แล้ว ให้ใช้เงินนอกงบประมาณไปเพิ่มได้อีกไม่เกิน ๑๐ %ของวงเงินรายการนั้น ๔. ถ้ามีเงินนอกงบประมาณไม่พอ จะใช้เงินงบประมาณไปเพิ่มได้ไม่เกิน ๑๐% ของวงเงินในส่วนที่เป็นเงินงปม. ๑.ให้โอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายต่างๆ ภายใต้แผนงบประมาณเดียวกัน หรือ ๒. นำเงินนอกงบประมาณ ไปเพิ่มวงเงินรายการนั้นได้ไม่เกิน๑๐%ของวงเงินที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ

  50. การนำเงินงบประมาณที่เหลือจ่ายไปใช้ในการจัดหาพัสดุ หัวหน้าส่วนราชการกระทำได้ ดังนี้(ระเบียบฯบริหารงบประมาณ ข้อ ๒๕) • ให้ หัวหน้าส่วนราชการ หรือ รัฐวิสาหกิจ มีอำนาจโอน/ เปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณที่เหลือจ่าย ในแผนงบประมาณเดียวกัน จากการดำเนินงานที่บรรลุวัตถุประสงค์แล้ว หรือ จากการจัดซื้อจัดจ้างแล้ว ไปใช้จ่ายเป็นรายการใด ๆ ได้ • ยกเว้น รายการที่ดิน/และการก่อหนี้ผูกพันข้ามปี /และหากมีหนี้ค้างชำระ ค่าสาธารณูปโภคหรือค้างหนี้ตามสัญญา/ให้นำไปจ่ายก่อน

More Related