1 / 48

นโยบายการปฏิบัติงานด้านการคลังและพัสดุสู่ความเป็นเลิศ

นโยบายการปฏิบัติงานด้านการคลังและพัสดุสู่ความเป็นเลิศ บรรยายใน การสัมมนา การพัฒนาการปฏิบัติงานด้านงานคลังและพัสดุ วันอังคารที่ 4 มิถุนายน 2556 ณ ห้องประชุมวิทยาลัยปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย รศ.ดร.สมหมาย ปรี เปรม รองอธิการบดีฝ่ายการคลังและทรัพย์สิน. ทิศทางการบริหารจัดการ.

lee-snider
Download Presentation

นโยบายการปฏิบัติงานด้านการคลังและพัสดุสู่ความเป็นเลิศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายการปฏิบัติงานด้านการคลังและพัสดุสู่ความเป็นเลิศนโยบายการปฏิบัติงานด้านการคลังและพัสดุสู่ความเป็นเลิศ • บรรยายใน การสัมมนา การพัฒนาการปฏิบัติงานด้านงานคลังและพัสดุ • วันอังคารที่ 4 มิถุนายน 2556 • ณ ห้องประชุมวิทยาลัยปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น • โดย รศ.ดร.สมหมาย ปรีเปรม • รองอธิการบดีฝ่ายการคลังและทรัพย์สิน

  2. ทิศทางการบริหารจัดการทิศทางการบริหารจัดการ บริหารการเงิน กับการไปสู่เป้าหมายเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ นโยบายการต้องพึ่งพาตนเองด้านงบประมาณ ของ รัฐบาล/สภามหาวิทยาลัย/มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระบบบริหารจัดการด้านการเงิน-การคลัง มาตรการ/โครงการที่สำคัญของมหาวิทยาลัย

  3. หัวข้อในการนำเสนอ บริหารการเงิน กับการไปสู่เป้าหมายเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ นโยบายการต้องพึ่งพาตนเองด้านงบประมาณ ของ รัฐบาล/สภามหาวิทยาลัย/มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระบบบริหารจัดการด้านการเงิน-การคลัง มาตรการ/โครงการที่สำคัญของมหาวิทยาลัย

  4. เป้าหมาย มข. ข้างหน้า เป็นมหาวิทยาลัยชั้นเลิศของประเทศไทย 1 ใน 3 ของประเทศ

  5. 1 ใน 80 ของเอเซีย 1 ใน 400 ของโลก

  6. ถ้าเปรียบ มข. เหมือนตัวนักกีฬาที่ต้องแข่งขันอย่างมืออาชีพ เพื่อไปสู่เป้าหมายคณะ/หน่วยงาน เป็นเสมือนแขน-ขา-ร่างกาย ที่จะนำไปสู่ความชัยชนะ โดยกองคลัง เป็นเสมือน หัวใจ ของ มข. ระบบบริหารการเงินและพัสดุที่คณะ-หน่วยงานต่างๆ เปรียบเสมือนระบบเส้นเลือดที่ไปหล่อเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ระบบบริหารการเงิน การคลังและพัสดุที่ดี จึงเป็นปัจจัยสำคัญยิ่งประการหนึ่ง ในการบริหารองค์กรให้ไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้

  7. พวกเราจะช่วยกันทำอย่างไร ให้ระบบการคลังและพัสดุของ มข..... • ซื้อ พัสดุ-ครุภัณฑ์ ได้ทันใจ • เบิกจ่ายเงินคราใด ได้เร็วพลัน • การให้บริการนั้น ก็ฉันมิตร • มีแต่ถูก ไม่ทำผิด ให้จิตวาย • มีรายงานให้เจ้านาย ไม่สาย ขาด • มีวิเคราะห์ อย่างฉลาด และปราดเปรื่อง • ทำเรื่องยากให้เป็นง่าย ได้เสมอ • นี่แหละเธอ ที่ฉัน ฝันมานาน........ รศ.ดร.สมหมาย ปรีเปรม ๑ มีนาคม ๒๕๕๕ ปรับปรุง ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๖

  8. 1. ระบบงาน • Work Procedure • Buddy • Team work

  9. ระบบงาน (ต่อ) • Network • Knowledge management • Train the trainers

  10. 2. บุคลากร เพิ่มพูนความรู้, ส่งเสริมความก้าวหน้าคู่การพัฒนางาน

  11. 3. สิ่งแวดล้อม Happy work place

  12. หัวข้อในการนำเสนอ บริหารการเงิน กับการไปสู่เป้าหมายเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ นโยบายการต้องพึ่งพาตนเองด้านงบประมาณ ของ รัฐบาล/สภามหาวิทยาลัย/มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระบบบริหารจัดการด้านการเงิน-การคลัง มาตรการ/โครงการที่สำคัญของมหาวิทยาลัย

  13. ประเด็น นโยบายการต้องพึ่งพาตนเองด้านงบประมาณ • พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2540 • ส่งเสริมเรียนฟรี 12 ปี - ผู้เรียนอุดมศึกษามีส่วนในค่าใช้จ่าย • รัฐบาล - งบประมาณ • งบประมาณอุดมศึกษาโดยรวม ไม่ลด แต่เพิ่มไม่มาก • แต่มีมหาวิทยาลัยเกิดใหม่มากมาย – มหาวิทยาลัยเก่าๆรัฐให้พึงตนเองให้มากขึ้นๆ • สถานะการณ์ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น • งบลงทุนได้รับน้อยลงๆ • งบก่อสร้าง ต้องสมทบจ่าย 50% • สัดส่วน งบประมาณแผ่นดิน : งบประมาณเงินรายได้ 35:65 • รายได้ส่วนใหญ่มาจากการรักษาพยาบาล

  14. งบประมาณเงินรายได้ งบประมาณแผ่นดิน

  15. ประเด็น นโยบายการต้องพึ่งพาตนเองด้านงบประมาณ • นโยบายมหาวิทยาลัยขอนแก่น • ลดรายจ่าย • ปรับปรุง วิธีการ/ระบบ การจัดการ • ตัดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น • ลดค่ากระแสไฟฟ้า ค่าสาธารณูปโภค • ให้เอกชนเป็นผู้ลงทุนสร้าง หอพัก และการบริการต่างๆ • เพิ่มรายได้ • ปรับปรุง วิธีการ/ระบบ การจัดการกระบวนการทำงาน • การบริหารการเงิน เพื่อให้เกิดผลประโยชน์สูงโดยมีการบริหารความเสี่ยง • การบริหารจัดการพื้นที่ การพัฒนาพื้นที่เพื่อสร้างรายได้ • การบริการวิชาการ/ทรัพย์สินทางปัญญา

  16. หัวข้อในการนำเสนอ บริหารการเงิน กับการไปสู่เป้าหมายเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ นโยบายการต้องพึ่งพาตนเองด้านงบประมาณ ของ รัฐบาล/สภามหาวิทยาลัย/มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระบบบริหารจัดการด้านการเงิน-การคลัง มาตรการ/โครงการที่สำคัญของมหาวิทยาลัย

  17. งบประมาณแผ่นดิน กระบวนการใช้ กระบวนการได้มา งวดเงิน นโยบายรัฐบาล ขออนุมัติ เกณฑ์สำนักงบประมาณ จัดซื้อ/จัดจ้าง นโยบาย/แผนมหาวิทยาลัย ตรวจรับ/เบิกจ่ายเงิน การขอเปลี่ยนแปลง คำของบประมาณ การขอกันเงิน กลั่นกรอง-สน.งบฯ คณะรัฐมนตรี กรมบัญชีกลาง รัฐสภาฯ สำนักงบประมาณ พรบ.งบประมาณ กก./รัฐมนตรี

  18. หลัก วิธีการ งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น: รายได้เป็นของมหาวิทยาลัย - มหาวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณให้ คณะ/หน่วยงาน ค่าหน่วยกิต รายได้อื่นๆ งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณรายจ่าย คณะ/หน่วยงานต่างๆ โครงการพัฒนามหาวิทยาลัย และค่าใช้จ่ายส่วนกลาง กองทุนสะสม

  19. การบริหารเงินรายได้ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ระบบตะกร้าเงินรวม กรอบการบริหาร(ตะกร้า)เงิน กำหนดโดย สภามหาวิทยาลัย รายรับระหว่างปี • เพื่อรายจ่ายทุกประเภท • เงินยืมทดรองจ่าย • รายจ่ายงบประมาณ • เงินเดือน/ค่าจ้าง • ตอบแทน/ใช้สอย/วัสดุ • ก่อสร้าง • ค่าสาธารณูปโภค • ฯลฯ เพื่อสภาพคล่อง 8% ลงทุน ความเสี่ยงต่ำ ผลตอบแทนปานกลาง 50% กองทุนสำรองสะสม ลงทุน ความเสี่ยงปานกลาง ผลตอบแทนดี 40% ระบบตะกร้าเงินรวม หน่วยงานในกำกับ

  20. สถานภาพสินทรัพย์ประเภทเงินฝากธนาคารและการลงทุนสถานภาพสินทรัพย์ประเภทเงินฝากธนาคารและการลงทุน

  21. หัวข้อในการนำเสนอ บริหารการเงิน กับการไปสู่เป้าหมายเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ นโยบายการต้องพึ่งพาตนเองด้านงบประมาณ ของ รัฐบาล/สภามหาวิทยาลัย/มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระบบบริหารจัดการด้านการเงิน-การคลัง มาตรการ/โครงการที่สำคัญของมหาวิทยาลัย

  22. มาตรการ/โครงการที่สำคัญของมหาวิทยาลัยมาตรการ/โครงการที่สำคัญของมหาวิทยาลัย ลดรายจ่าย - เพิ่มรายได้ • มาตรการ การบริหารเงินยืม • โครงการรวมซื้อ-กระจายส่ง (กระดาษ) • โครงการการลดการใช้พลังงานโดยให้ผู้ใช้เป็นผู้จ่าย • โครงการปรับปรุงเงินสนับสนุนมหาวิทยาลัยจากโครงการวิจัยและบริการวิชาการ • โครงการลดภาระรายจ่ายด้านที่พักอาศัย และเพิ่มสวัสดิการช่วยเหลือบุคลากร • โครงการพัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชย์ • การบริหารทรัพย์สิน กรณี ศูนย์ประชุม/หอ 9 หลัง/ หอ 8-4 หลัง

  23. ระบบเงินยืมของมหาวิทยาลัยขอนแก่นระบบเงินยืมของมหาวิทยาลัยขอนแก่น • คณบดี/ผอ. ยืมใช้หมุนเวียนในหน่วยงาน • ยืมตรงจากมหาวิทยาลัย • หลักการสำคัญของเงินยืม (ที่ผู้ยืมมักจะไม่เข้าใจ - นำไปสู่ปัญหา) • การได้รับอนุมัติให้ยืมเงิน เป็นการให้ยืมเงินไม่เกี่ยวกับกระบวนการใช้เงินหรือจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งต้องดำเนินการตามระเบียบวิธีการที่เกี่ยงข้อง • เมื่อยืมเงินก็ต้องคืนเงินตามเงื่อนไขข้อตกลง หาไม่อาจต้องโดนปรับตามกติกา • การคืนเงินยืม = เอกสารเบิกจ่ายที่ถูกต้อง + เงินที่เหลือ + ค่าปรับ(ถ้ามี) • การได้รับเงินยืมแล้ว ไปดำเนินการใช้จ่ายตามโครงการจนแล้วเสร็จ ผู้ยืมยังเป็นหนี้เงินยืมอยู่ จนกว่าจะคืนเงินยืมครบถ้วน

  24. ปัญหาที่พบบ่อยๆที่ทำให้เบิกจ่ายไม่ได้ปัญหาที่พบบ่อยๆที่ทำให้เบิกจ่ายไม่ได้ • ไม่ได้ดำเนินการตามระเบียบ เช่น • ไม่ได้ขออนุมัติใช้เงิน ไม่ได้ขออนุมัติจัดซื้อ • ไม่ได้ดำเนินการตามระเบียบพัสดุ • ใช้เงินผิดประเภท เช่น • ใช้เงินจากหมวดวัสดุ ไปจัดซื้อครุภัณฑ์ หรือไปจ้างเหมา • เบิกจ่ายสูงกว่าเกณฑ์ที่ระเบียบกำหนด • เช่น เบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก ค่าเดินทาง –ช่วยเหลืองานศพ- • หลักฐานการเบิกจ่ายไม่ครบถ้วน/ไม่สมบูรณ์ • ไม่มีใบเสร็จรับเงินที่ถูกต้อง ไม่ได้หักภาษี ณ ที่จ่าย ดังนั้นก่อนเริ่มโครงการ ผู้ยืมเงินต้องศึกษาระเบียบวิธีการใช้เงินและเตรียมการเก็บหลักฐานเอกสารให้พร้อม- จนท.การเงินต้องให้คำแนะนำที่ถูกต้อง

  25. นโยบายเชิงยุทธศาสตร์ การปรับปรุงระบบเงินยืม • ให้ยืมเงินเท่าจำนวนที่จำเป็นต้องจ่ายล่วงหน้าจริงๆ • ให้ยืมตามเวลาที่จำเป็นต้องจ่ายล่วงหน้าจริงๆ • ไม่ให้ยืมเพื่อนำไปเก็บไว้โดยที่ยังไม่มีความจำเป็นต้องใช้หรือยังไม่ทราบรายละเอียดที่ต้องใช้

  26. มาตรการกลั่นกรองการยืม หากระยะเวลายาวเกินไปให้แยกเป็นงวดๆ ไม่จ่ายเงินล่วงหน้านาน ไม่ให้ยืมเพื่อจ้างเหมา (มียกเว้นบางประเภท – ให้แยกจ่ายเป็นงวดเช่น กรณีจ้างทัวร์) กรณีค่าตอบแทน/เบี้ยประชุม/ทุนฯ ให้จ่ายตรง (ไม่ต้องยืม) แจ้งเตือนให้ชำระหนี้ทาง e-mail ระบบสรุปรายงานการ ยืม-เบิกจ่ายรายบุคคล บน Website กองคลัง มาตรการไม่ให้ยืมใหม่หากยังมีหนี้ค้างชำระ มาตรการหักเงินเดือน หากมีหนี้เงินยืมค้างชำระ ระบบการป้องกันของมหาวิทยาลัย

  27. ระบบรวมซื้อ-กระจายส่ง กระดาษe-Ordering รศ.ดร.สมหมาย ปรีเปรม รองอธิการบดีฝ่ายการคลังและทรัพย์สิน

  28. ขั้นตอนกระบวนการสั่งของที่สำคัญขั้นตอนกระบวนการสั่งของที่สำคัญ สามารถเรียกดู/พิมพ์รายงาน การสั่งซื้อ-การส่งของได้ตลอดเวลา (ตามสิทธิการเข้าถึงข้อมูลที่กำหนด) หน่วยงานที่มีอำนาจสั่งกำหนดถึงระดับภาควิชา ผู้อนุมัติ ระบบ online ผู้ขาย ผู้สั่ง ผู้รับ ส่งสินค้าถึงหน่วยงานผู้สั่งในวันที่กำหนด กองคลัง สรุปยอดซื้อและเบิกจ่ายทุก 30 วัน ตรวจสอบการสั่ง-ส่งของ การตัดโอนเงินจากหน่วยงานกองคลังดำเนินการผ่าน ระบบ KKU-FMIS และแจ้งหน่วยงาน

  29. ผลสำคัญที่เกิด ลดภาระงานและเวลาด้านเอกสารในกระบวนการการจัดซื้อ-เบิกจ่ายเงิน แบบเดิมซึ่งแยกกันทำแต่ละคณะ/หน่วยงาน แต่ละครั้ง ลดภาระการ Stock กระดาษ เนื่องจากสามารถสั่งได้ง่าย (e-Ordering) สั่งได้ทุกวัน มีของส่งในวันที่กำหนดสัปดาห์ละครั้ง ลดค่าใช้จ่ายด้านราคา เนื่องจากจัดประมูลซื้อรวมกันครั้งเดียวทั้งมหาวิทยาลัย ผู้บริหาร/ผู้เกี่ยวข้อง สามารถตรวจสอบและดูรายงานการจัดซื้อที่เกี่ยวข้องของคณะ/หน่วยงาน ได้ตลอดเวลา ทาง website

  30. โครงการรวมซื้อ-กระจายส่ง by e-Orderingที่จะดำเนินการต่อๆไป วัสดุ – เครื่องใช้ในสำนักงานทั้งหมด อาหารว่าง – อาหารกล่อง จ้างเหมารถตู้ Computer และอุปกรณ์ หลักการคือแต่ละประเภทให้มีหลายร้านที่ผ่านการคัดกรองเข้าอยู่ในระบบ ผู้ซื้อสามารถเลือกได้ KKU–eBay, KKU-SuppStore

  31. ระบบ KKU -online ผู้ขาย ผู้ขาย ผู้ขาย ผู้ขาย ผู้ขาย หน่วยงาน หน่วยงาน หน่วยงาน หน่วยงาน Admim กองคลัง

  32. ข้อเสนอหลักการ โครงการปรับปรุงระบบด้านการเงินและงบประมาณ 3 โครงการ เพื่อพัฒนาความมั่นคงด้านการคลังของมหาวิทยาลัย โดย รองอธิการบดีฝ่ายการคลังและทรัพย์สิน เสนอ ที่ประชุมคณบดี คราวประชุมครั้งที่ 6/2555 วันที่ 12 เมษายน 2555

  33. 1. โครงการลดค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าและประปา 2. โครงการเพิ่มรายได้โดยการ ปรับปรุงค่าบำรุง มหาวิทยาลัย ของโครงการบริการวิชาการ/วิจัย 3. โครงการลดภาระรายจ่ายด้านที่พักอาศัยและเพิ่มสวัสดิการช่วยเหลือบุคลากร โครงการลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้ ทั้ง 3 ได้แก่

  34. 1. ค่าสาธารณูปโภค เดิมสมทบส่วนกลาง 5% รายได้ แนวคิดในการปรับปรุง เพื่อส่งเสริมและจูงใจให้คณะ/หน่วยงานและบุคลากร ช่วยกันลดการใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าและประปา ควรปรับปรุงวิธีการงบประมาณในส่วนนี้ โดยการแยกค่าไฟฟ้าและประปาออกจากงบประมาณสมทบค่าสาธารณูปโภคส่วนกลาง นั่นคือ คณะและหน่วยงาน เป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่ายด้านกระแสไฟฟ้าและน้ำประปา ตามที่ใช้จริงของหน่วยงานของตนเอง โทรศัพท์ Internet ไฟฟ้า สาธารณูปโภค ถนนและ ขนส่งมวลชน ประปา ที่ประชุมคณบดีเห็นชอบให้เริ่มดำเนินการตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 เป็นต้นไป

  35. ในปัจจุบันมหาวิทยาลัย กำหนดให้โครงการบริการวิชาการและวิจัย จ่ายเงินสมทบเข้ามหาวิทยาลัย เพียงร้อยละ 5 ของงบประมาณทั้งหมด แนวคิดในการปรับปรุง หากมหาวิทยาลัยขอนแก่น มีการปรับปรุงการจัดเก็บค่าบำรุงดังกล่าวเพิ่มขึ้น จะทำให้มหาวิทยาลัยมีงบประมาณในการพัฒนาตามวัตถุประสงค์เพิ่มขึ้น 2. ค่าบำรุงมหาวิทยาลัยของโครงการบริการวิชาการ/วิจัย

  36. ผู้ที่ได้รับการจัดสรรจะเป็นผู้ที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยขอนแก่นมาแล้วหลายปี ในการอยู่ในที่พักก็ไม่ต้องเสียค่าบำรุงเลยนอกจากค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา และค่าเก็บขยะ สำหรับที่พักของตน ผู้เข้าบรรจุใหม่ซึ่งมีรายได้น้อยกลับไม่ทีโอกาสได้รับการจัดสรรที่พักเลย ต้องมีภาระค่าใช้จ่ายด้านค่าเช่าที่พักในสัดส่วนที่สูงเมื่อเทียบกับเงินเดือน ส่งผลให้ขาดขวัญและกำลังใจในการทำงาน การเพิ่มจำนวนบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มีความต้องการให้ก่อสร้างที่พักอาศัยเพิ่มเติม มหาวิทยาลัยภาระงบประมาณด้านการซ่อมบำรุงและดูแลรักษาเป็นจำนวนมาก • 3. โครงการลดภาระรายจ่ายด้านที่พักอาศัย และเพิ่มสวัสดิการช่วยเหลือบุคลากร

  37. โครงการการศูนย์บริการนักศึกษาและบุคลากร มข. • (พื้นที่บริเวณบริเวณกังสดาล) สรุปโครงการและรับฟังคำถามเกี่ยวกับ TOR 19 ธันวาคม 2555 โดย รศ.ดร.สมหมาย ปรีเปรม รองอธิการบดีฝ่ายการคลังและทรัพย์สิน

  38. มหาวิทยาลัยขอนแก่น สนามบิน ถนนมิตรภาพ ถนนกัลปพฤกษ์ ถนนมลิวัลย์

  39. พื้นที่ B แนวกัน พื้นที่เพื่อการ ขยายตัว แนวกัน พื้นที่เพื่อการ ขยายตัว ถนนกัลปพฤกษ์ พื้นที่ A

  40. โครงการให้การบริการที่ดีแก่ นักศึกษา/บุคลากร/ผู้ปกครอง/ผู้มาใช้บริการต่างๆของมหาวิทยาลัย โครงการเป็นที่สร้างชื่อเสียงและภาพลักษณ์ที่ดีให้มหาวิทยาลัยขอนแก่น พื้นที่โครงการเป็นแนวกันชน ระหว่างมหาวิทยาลัยและภายนอก สร้างรายได้ เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัย ประเด็นเชิงนโยบาย

  41. ต้องเป็นกิจกรรมพาณิชย์เชิงสร้างสรรค์และเป็นส่วนสนับสนุนการศึกษา ที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคม ซึ่งครอบคลุมถึงการไม่มีสถานที่ที่เป็นแหล่งมั่วสุมหรือมอมเมาเด็กและเยาวชน การไม่มีสถานที่ที่จำหน่ายสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์และผิดกฎหมาย รูปแบบการพัฒนาพื้นที่

  42. ตัวอย่าง Community Mall

  43. ตัวอย่าง Community Mall

  44. ตัวอย่าง Community Mall

  45. การบริหารทรัพย์สิน กรณี ศูนย์ประชุมฯกาญจนาภิเษก • รูปแบบเดิม จ้างเอกชนบริหาร ค่าใช้จ่ายรวมประมาณ 3.8 ล้านบาท/ปี • ค่าจ้าง 2.5 ล้านบาท/ปี • รายรับดำเนินการ ประมาณเท่ากับ รายจ่ายดำเนินการ (ในปีก่อนสุดท้ายก่อนนั้น ขาดทุน) • จ่ายค่าซ่อมแซม เฉลี่ย 1.3 ล้านบาท/ปี • รูปแบบใหม่ ให้สิทธิเอกชนใช้ประโยชน์โดยการเปิดให้ยื่นข้อเสนอ • มหาวิทยาลัยได้ผลประโยชน์ 5.5 + 0.4 +.03 = 6.2 ล้านบาท/ปี • ค่าซ่อมบำรุงใช้จากรายได้โครงการ (20% รายได้ของศูนย์) • ผลแตกต่าง คือ (6.2) – (3.8) = 10.0 ล้านบาท/ปี • สรุปการเปลี่ยนแปลงวิธีบริหารจัดการของกรณีนี้ทำให้มหาวิทยาลัยได้ผลประโยชน์เพิ่มขึ้นปีละ 10 ล้านบาท เป็นเวลา 5 ปี

  46. การบริหารทรัพย์สิน กรณี หอ 9 หลัง/ หอ 8-4 หลัง หอพัก นพรัตน์ (หอ 9 หลัง) สร้างโดยเงินงบประมาณ Out source โดยให้สิทธิเอกชนบริหาร มข.ได้ผลประโยชน์รายปีและส่วนแบ่งรายได้ เป็นการลดค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร หอพัก วรนิทัศน์ฯ (หอ 8 หลัง และ หอ 4 หลัง) ให้เอกชนลงทุนก่อสร้าง แล้วให้สิทธิในการบริหาร มข.ได้ ส่วนแบ่งรายได้ เป็นการลดค่าใช้จ่ายการลงทุนและด้านการลงทุนก่อสร้างอาคารหอพัก และลดค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรบุคลากร

  47. ขอบคุณครับ รศ.ดร.สมหมาย ปรีเปรม รองอธิการบดีฝ่ายการคลังและทรัพย์สิน sompri@.kku.ac.th

More Related