1 / 17

ผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหา ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด

ผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหา ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด. ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพมหานคร. วันที่ 4 กันยายน 2555. สำนักงาน ป.ป.ส. 1. แผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด. เป้าหมายของแผน 1. นำผู้เสพติดเข้ารับการบำบัดรักษา 400,000 ราย 2. ติดตามผู้ผ่านการบำบัดรักษาไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ 80 %.

Download Presentation

ผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหา ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหาผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหา ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพมหานคร วันที่ 4 กันยายน 2555 สำนักงาน ป.ป.ส. 1

  2. แผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดแผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด เป้าหมายของแผน 1. นำผู้เสพติดเข้ารับการบำบัดรักษา 400,000 ราย 2. ติดตามผู้ผ่านการบำบัดรักษาไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ 80% สมัครใจ 330,000 ราย บังคับบำบัด 50,000 ราย ต้องโทษ 20,000 ราย ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 300,000 ราย งบประมาณ :1,944,527,540 บาท - งบฯ ปปส. 447,266,295 บาท - งบฯ ท้องถิ่น 1,008,875,000 บาท - งบฯ กรมการปกครอง 112,484,145 บาท • แบบควบคุมตัว 17,760 ราย • ไม่ควบคุมตัว 69,840 ราย • งบประมาณ :613,020,200 บาท • เรือนจำ/ทัณฑสถาน 15,000 ราย • สถานพินิจและศูนย์ฝึกอบรมฯ 3,200 ราย • - งบประมาณ :23,516,700 บาท สถานบริการ สธ. จำนวน 29,700 ราย งบประมาณ :419,917,500 บาท 2

  3. แผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดแผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด (11 กันยายน 2554 – 2 กันยายน 2555) ผลการปฏิบัติรองรับปฏิบัติการ (Input)

  4. แผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดแผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด (11 กันยายน 2554 – 2 กันยายน 2555) ผลการนำผู้เสพติดเข้าบำบัดรักษา ผู้เข้ารับการบำบัดรักษา จำนวน 493,916 ราย (123.48%) สมัครใจ บังคับ ต้องโทษ 340,945 ราย 136,452 ราย 16,519 ราย • ** จากระบบสารสนเทศกรมคุมประพฤติ • - ตรวจพิสูจน์ : 170,453 ราย • ฟื้นฟูฯ : 155,849 ราย • (ณ วันที่ 1 ต.ค. 54- 2 ก.ย.55) ก.สธ. :132,851 ราย • ค่ายฯ : 208,094 ราย • -ค่าย ศพส. : 187,054 ราย • - มาตราการ 315 : 5,173 ราย • ค่าย นร.นศ. : 3,601 ราย • จิตสังคมบำบัดในรร. : 12,266 ราย 4

  5. ผลการติดตามผู้ผ่านการบำบัดรักษาผลการติดตามผู้ผ่านการบำบัดรักษา เป้าหมาย 80 % (11 กันยายน 2554 – 2 กันยายน 2555) ผู้เข้ารับการบำบัดรักษา จำนวน 493,916 ราย ติดตามผู้ผ่านการบำบัดฯ จำนวน 205,189 ราย (41.54%) ระบบ บสต. (สมัครใจ+บังคับ+ต้องโทษ) 86,376 ราย ระบบ ศพส. (ผู้ผ่านค่ายฯ) 118,813 ราย จากผู้ผ่านการบำบัดครบกำหนด จำนวน 150,995 ราย - ผลการติดตามแยกตามระบบ -- ต้องโทษ 65% -- สมัครใจ 56% -- บังคับ 51% - ผลการติดตามครั้งที่ 1 -- หยุดเสพได้ 73,125 ราย (84.66%) -- เสพซ้ำ 2,950 ราย (3.42%) - การศึกษา 26,056 ราย - ฝีกอาชีพ 51,221 ราย - จัดหางานให้ทำ 26,619 ราย - ให้ทุนประกอบอาชีพ 11,269 ราย

  6. ผลการนำผู้เสพติดเข้าบำบัดรักษาภาพรวม จำแนกเป็นรายภาค

  7. สรุปผลการจัดค่ายฯ (ค่าเฉลี่ยจำนวนผู้เข้าค่ายประมาณ 30-70 คนต่อค่าย)

  8. ข้อมูลที่ซ้ำซ้อน ข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงปริมาณ ศพส. บสต. เลข 13 หลัก จำนวน 75,275 ราย

  9. ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาทั้งประเทศ จำแนกตามการเข้ารับการบำบัดฯ

  10. ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาทั้งประเทศ จำแนกตามระดับความรุนแรงของการเสพ

  11. ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาทั้งประเทศ จำแนกตามรูปแบบการบำบัด

  12. การวิเคราะห์ ปัญหาการดำเนินงาน

  13. คุณภาพการดำเนินงาน 1. การค้นหา - มาตรการทางสังคม (การทำประชาคม) ไม่สามารถกดดันให้ผู้เสพ สมัครใจเข้าบำบัดได้ จึงต้องใช้การตรวจปัสสาวะเป็นหลัก และเร่งระดม ดำเนินการอาจทำให้มีการนำกลุ่มเสี่ยงปะปนเข้ามาในค่ายฯ ได้ 2. การคัดกรอง - เครื่องมือในการคัดกรองยังขาดความชัดเจน ในบางพื้นที่ใช้ ความรู้สึก ประสบการณ์ แยกเฉพาะผู้ที่มีอาการทางจิตเป็นหลัก

  14. คุณภาพการดำเนินงาน 3. การจัดค่ายฯ - บางพื้นที่ลดเวลาในจัดค่ายฯ ลงจาก 9 วัน - ไม่มีกระบวนการประเมินก่อนออกจากค่ายฯ 4. การติดตามฯ - ขาดการบูรณาการในพื้นที่ เน้นการติดตามแยกตามระบบการบำบัด และบางพื้นที่เน้นการติดตามฯ ผู้ผ่านค่ายเป็นหลัก และยังขาดการดำเนินงาน ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ผ่านการบำบัดฯ

  15. การบริหารจัดการ 1. ระบบข้อมูลของจังหวัด : - ไม่มีการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลด้าน Demand ทั้งในระดับจังหวัดและอำเภอ และ ยังขาดความชัดเจนเกี่ยวกับบทบาทการเป็นเจ้าภาพหลักในการบริหารจัดการฯ - การรายงานข้อมูลผลการนำผู้เสพติดเข้าบำบัดรูปแบบค่ายฯ ระหว่างระบบ รายงาน ศพส. และบสต.ยังไม่สอดคล้องกัน เนื่องจากความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน 2. วิทยากรการจัดทำค่ายฯ - วิทยากรครู ข ส่วนใหญ่ไม่มีศักยภาพเพียงพอ หลายอำเภอจัดค่ายโดย วิทยากรครู ก เป็นหลัก - การจัดค่าย 1 ครั้ง ต้องระดมสรรพกำลังไม่น้อยกว่า 20 คน ต่อ ค่าย

  16. การบริหารจัดการ 3. งบประมาณ - ในปี 2555 มีความล่าช้า ทยอยลงจังหวัด ทำให้ต้องเร่งดำเนินการ ในช่วงปลายงบประมาณ ซึ่งอาจจะส่งผลคุณภาพในการจัดค่ายฯ - งบฯ ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น มีเงื่อนไขมาก และขาด ความยืดหยุ่น

More Related