1 / 12

โครงร่างงานวิจัย

โครงร่างงานวิจัย. หัวข้อการวิจัย The Effect of Preparation Processes and Drying Methods on Quality of Dried Chili cv.Jinda. ผลของกระบวนการเตรียมวัตถุดิบและวิธีการอบแห้งที่มีผลต่อคุณภาพของพริกขี้หนูอบแห้งพันธุ์จินดา. ผู้ดำเนินงาน 1. นายศรายุทธ อาวาส รหัส 4813119

Download Presentation

โครงร่างงานวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงร่างงานวิจัย หัวข้อการวิจัย The Effect of Preparation Processes and Drying Methods on Quality of Dried Chili cv.Jinda ผลของกระบวนการเตรียมวัตถุดิบและวิธีการอบแห้งที่มีผลต่อคุณภาพของพริกขี้หนูอบแห้งพันธุ์จินดา

  2. ผู้ดำเนินงาน 1. นายศรายุทธ อาวาสรหัส 4813119 2. นางสาวอัจฉรา อินตา รหัส 4813128 • อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิจัย อาจารย์ ดร. พิชญา บุญประสม

  3. ทวนเอกสาร • “Drying of hot chilli using solar tunnel drier”; M.A. Hossain , B.K. Bala (www.sciencedirect.com) • “Optimisation of solar tunnel drier for drying of chilli without color loss”; M.A. Hossaina, J.L. Woodsb, B.K. Balac (www.sciencedirect.com) • “The drying kinetics of bird’s chillies in a fluidized bed dryer”S.M. Tasirin, S.K. Kamarudin *, K. Jaafar, K.F. Lee (www.sciencedirect.com)

  4. ปัญหาที่ทำวิจัยและความสำคัญของปัญหาปัญหาที่ทำวิจัยและความสำคัญของปัญหา • ความต้องการใช้พริกแห้งมีมากขึ้นแต่ปริมาณและคุณภาพของพริกที่ผลิตได้ไม่สอดคล้องหรือสม่ำเสมอกับความต้องการใช้ของผู้บริโภค • เกษตรกรยังไม่มีวิธีการผลิตพริกขี้หนูแห้งให้มีคุณภาพดี สีสวยสด สะอาด สามารถเก็บไว้บริโภคได้นาน เพื่อให้สามารถแข่งขันในตลาดการค้าและลดการนำเข้า

  5. ปัญหาที่ทำวิจัยและความสำคัญของปัญหาปัญหาที่ทำวิจัยและความสำคัญของปัญหา • เกิดปัญหาผลิตผลล้นตลาดในช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยวทำให้มีรายได้จากผลิตน้อยไม่คุ้มค่าต่อการลงทุนของเกษตรกร • ค่าใช้จ่ายในการอบแห้งพริกด้วยพลังงานไฟฟ้าค่อนข้างสูง การนำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้นั้นเป็นพลังงานสะอาดจะ สามารถช่วยลดต้นทุนในการผลิต

  6. วัตถุประสงค์ • เพื่อหากระบวนการเตรียมวัตถุดิบที่เหมาะสมเพื่อให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูง • เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพผลิตภัณฑ์ของพริกขี้หนูอบแห้งพันธุ์จินดาที่ทำการอบแห้งโดยใช้เครื่องอบแห้งแบบถาด และเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

  7. ระเบียบวิธีวิจัย (โดยย่อ) • วางแผนการทดลองแบบ Factorial Design 32 * 2+1 • หาวิธีการเตรียม (pretreatment) ที่เหมาะสมโดยทำการเปรียบเทียบวิธีการนึ่งและการลวก (80 oC) ที่มีผลต่อคุณภาพพริก นำพริกมาล้างทำความสะอาดจากนั้นนำไปนึ่งหรือลวกเป็นเวลา 2, 3, และ 4 นาที จากนั้นบันทึกลักษณะปรากฏของพริกในทุก treatment เทียบกับ control (พริกสดที่ไม่ผ่านการนึ่งและลวก)

  8. ระเบียบวิธีวิจัย (โดยย่อ) • นำพริกที่ได้จาก 2 ไปอบแห้งด้วยเครื่องอบแห้งแบบถาดที่อุณหภูมิ 60 oC ความเร็วลม 0.5 m/sและเครื่องอบพลังงานแสงอาทิตย์ที่สร้างขึ้น ด้วยความเร็วลม 0.5 m/s บันทึก - เวลาในการอบแห้ง คำนวณ - อัตราการอบแห้ง - ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ (kWhr)ในการอบแห้ง - ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/กิโลกรัมสด) - อุณหภูมิและความชื้นภายในตู้อบ

  9. ระเบียบวิธีวิจัย (โดยย่อ) 4. อบแห้งจนพริกมีความชื้นสุดท้ายเท่ากับ 12% หรือต่ำกว่า 5. ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ โดยจะทำการวิเคราะห์ทางด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ ก. จุลชีววิทยา : จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมด ข. กายภาพ - ความชื้น (%) - water activity ( aw ) - สี (L* C* ho) - ลักษณะปรากฏ (9-point hedonic scale)

  10. ระเบียบวิธีวิจัย (โดยย่อ) ค. เคมี : ปริมาณไวตามินซีและปริมาณสารเผ็ด (Capsaicin) 6. ทำการวิเคราะห์ผลทางสถิติเพื่อเปรียบเทียบหากระบวนการที่ดีที่สุด

  11. ระยะเวลาการดำเนินงาน • ใช้เวลาการสืบค้นเอกสาร เก็บข้อมูลและทำการทดลอง ประมาณ 8เดือน

  12. สิ่งที่คาดว่าจะได้รับสิ่งที่คาดว่าจะได้รับ • ทราบกระบวนการเตรียมวัตถุดิบที่เหมาะสมเพื่อให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูง • ทราบวิธีการอบแห้งที่เหมาะสมเพื่อให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูง • เพิ่มมูลค่าให้พริกขี้หนูสดพันธุ์จินดา และเพิ่มโอกาสในการแข่งขันให้กับกลุ่มเกษตรกร • นักศึกษาได้รับประสบการณ์จากการทำงานวิจัยและมีประสบการณ์จริงเพื่อพร้อมจะทำงานเมื่อจบการศึกษา

More Related