1 / 54

การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์

การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์. บทที่ 2 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์.

latimer
Download Presentation

การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ บทที่ 2 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี

  2. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ (Computer) คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic device) ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการกับข้อมูล (Data) ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์อื่นที่ใช้แทนความหมายในสิ่งต่าง ๆ โดยปฏิบัติงานภายใต้การควบคุมของชุดคำสั่งที่อยู่ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์เอง เพื่อทำการคำนวณและแสดงผลลัพธ์ออกทางอุปกรณ์แสดงผล โดยที่ผลลัพธ์เหล่านี้จัดว่าเป็นข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลและเรียบเรียงแล้ว จะเรียกผลลัพธ์นี้ว่า "สารสนเทศ (Information)"

  3. ประเภทคอมพิวเตอร์ • แบ่งตามสมรรถนะ ขนาดและราคา ได้ 5 ประเภท คือ • 1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer)เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด รุ่นแรก สร้างในปี ค.ศ. 1960 ที่องค์การทหารของสหรัฐอเมริกา สร้างสามารถประมวลผลได้กว่า 100 ล้านคำสั่งต่อวินาที จึงทำให้ทำงานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง มีราคาแพงที่สุด เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับงานคำนวณที่ต้องคำนวณตัวเลขจำนวนมหาศาลให้เสร็จภายในระยะเวลาอันสั้น

  4. ประเภทคอมพิวเตอร์ • 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มีความเร็วในการประมวลผลสูงรองลงมาจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ต้องอยู่ในห้องที่ควบคุมอุณหภูมิและปราศจากฝุ่นละออง และได้รับการพัฒนาให้มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยทำงานพร้อม ๆ กันเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่มีจำนวนหน่วยประมวลผลที่น้อยกว่า คน (Multi-user) ใช้กับองค์กรใหญ่ ๆ ทั่วไป เช่น งานด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์ การควบคุมระบบเครือข่าย งานพัฒนาระบบ งานด้านธุรกิจ ธนาคาร งานสำมะโนประชากร งานสายการบิน งานประกันชีวิต และมหาวิทยาลัย เป็นต้น

  5. ประเภทคอมพิวเตอร์ • 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดกลางที่มีประสิทธิภาพในการทำงานน้อยกว่าเมนเฟรมแต่สูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการทำงานจากผู้ใช้หลายร้อยคน (Multi-user) ในการทำงานที่แตกต่างกัน ช้ากว่า Mainframe(Multi Programming) กับองค์กรขนาดกลาง เพราะมีราคาถูกกว่าเครื่องเมนเฟรมมาก ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การคำนวณทางด้านวิศวกรรม การจองห้องพักของโรงแรม การทำงานด้านบัญชีขององค์การธุรกิจ เป็นต้น ในสถานศึกษาต่าง ๆ และบางหน่วยงานของรัฐนิยมใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้

  6. ประเภทคอมพิวเตอร์ • 4. เวิร์คสเตชันคอมพิวเตอร์ (Workstation Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ที่สนับสนุนการทำงานของคอมพิวเตอร์เครือข่าย ซึ่งใช้ในการจัดสรรและใช้ทรัพยากรร่วมกัน ผู้ใช้บางกลุ่มจะเรียกเครื่องระดับเวิร์คสเตชันนี้ว่า ซูเปอร์ไมโคร (Supermicro) เพราะถูกออกแบบให้ใช้งานแบบตั้งโต๊ะ แต่ชิปที่ใช้ทำงานนั้นแตกต่างกันมาก เนื่องจากเวิร์คสเตชันส่วนมากใช้ชิปที่ลดจำนวนคำสั่งที่สามารถใช้สั่งงานให้เหลือเฉพาะที่จำเป็น เพื่อให้สามารถทำงานได้ด้วยความเร็วสูง

  7. ประเภทคอมพิวเตอร์ • 5. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ราคาถูกสามารถเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer หรือ PC) มีการพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1975 ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอันมาก เมื่อ IBM ได้สร้างเครื่อง IBM PC ออกมา

  8. ประเภทคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ราคาถูกสามารถเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอันมาก เมื่อ IBM ได้สร้างเครื่อง IBM PC ออกมา ซึ่งความแตกต่างระหว่างเวิร์คสเตชันคอมพิวเตอร์ และไมโครคอมพิวเตอร์ได้ลดน้อยลงเรื่อย ๆ เนื่องจากเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ระดับสูงในปัจจุบันมีประสิทธิภาพ และมีความเร็วในการแสดงผลที่ดีกว่าเวิร์คสเตชันคอมพิวเตอร์มาก สามารถใช้งานโดยใช้คนเดียว (Stand-alone) หรือเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายเพื่อติดต่อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้

  9. ประเภทคอมพิวเตอร์ • โน๊ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ (Notebook Computer)เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก มี น้ำหนักเบาประมาณ 2-4 กิโลกรัม และบางกว่าแบบตั้งโต๊ะ สามารถพกพาไปยังสถานที่ต่าง ๆ ได้สะดวก โดย

  10. ประเภทคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์แทปเลท (Tablet Computer) มีลักษณะคล้ายโน๊ตบุ๊ค คือ มี ขนาดเล็ก มีน้ำหนักเบา มีความบาง และสามารถแต่จะมีความแตกต่างกันที่แทปเลทสามารถป้อนข้อมูลทางจอภาพได้ตามเทคโนโลยีของผู้ผลิต เช่น การใช้ปากกาชนิดพิเศษที่สามารถเขียนลงบนจอภาพ และใช้โปรแกรมในการช่วยแปลงตัวเขียนเหล่านั้นให้เป็นตัวอักษรที่เหมือนกับการพิมพ์จากคีย์บอร์ด

  11. ประเภทคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์พกพา (Handheld Computer) มีขนาดเล็กกว่าโน๊ตบุ๊คและแทปเลท คือ มีขนาดเท่าฝ่ามือ ถือเพียงมือเดียวได้ และใช้อีกมือถือปากกาที่เรียกว่า สไตล์ลัส (Stylus) เขียนข้อความบนจอเพื่อป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องได้ด้วยเทคโนโลยีการรับรู้ลายมือ (Hand writing recognition) พกพาสะดวกมากกว่า สามารถจัดเก็บข้อมูลได้มาก คีย์บอร์ดและหน้าจอมีขนาดเล็ก มีน้ำหนักเพียงร้อยกว่ากรัม หรือใช้เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ด้วย คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ถูกออกแบบมาเพื่อทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์จัดเก็บและจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล (Personal Information Manager: PIM หรือ Personal Organizer) เช่น ตารางเวลา ปฏิทินนัดหมาย สมุดโทรศัพท์ และสมุดบันทึก เป็นต้น คอมพิวเตอร์ชนิดนี้นิยมเรียกว่า PDA (Personal Digital Assistant) PDA ในปัจจุบันที่นิยมได้แบ่งออกเป็นสองแบบ คือ พีดีเอในกลุ่มของปาล์ม (Palm) ซึ่งใช้ Palm OS จากบริษัทปาล์มต่าง ๆ และ PDA ในกลุ่มของพ๊อกเก็ตพีซี ( Pocker PC)

  12. คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ • โดยรวมเรียกลักษณะเด่น ทั้ง 4 รวม ๆ กันว่า 4S Special ของเครื่องคอมพิวเตอร์ 1)ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ด้านความจำ (Storage) 2)ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ด้านความเร็ว (Speed) 3)ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ด้านการปฏิบัติงานอัตโนมัติ(Self ) 4) ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ด้านความน่าเชื่อถือ (Sure)

  13. ข้อจำกัดของคอมพิวเตอร์ข้อจำกัดของคอมพิวเตอร์ • 1. การวางระบบคอมพิวเตอร์ต้องใช้เวลานานมาก การที่หน่วยงานใดตัดสินใจนำคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ต้องวางระบบงานเสียก่อน ว่าจะนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำงานด้านใด แล้วยังจะต้องมีการเรียนโปรแกรมคำสั่ง เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ได้ออกแบบไว้ • 2. การรวบกวนระบบงานปกติ เมื่อมีคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในหน่วยงานที่ไม่เคยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์มาก่อน แน่นอนว่าต้องมีการเปลี่ยนแปลงระบบงานเดิม การเปลี่ยนแปลงส่งผลกระทบต่อจิตใจของพนักงาน และอาจสร้างความไม่พอใจ และก่อให้เกิดความวุ่นวายหลากประการขึ้นได้

  14. ข้อจำกัดของคอมพิวเตอร์ข้อจำกัดของคอมพิวเตอร์ • 3. การทำงานขึ้นอยู่กับมนุษย์ คอมพิวเตอร์เป็นได้แค่เครื่องมือช่วยมนุษย์ในการงาน ทั้งนี้เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่มีความคิดเป็นของตัวเอง และทำงานได้รับคำสั่งจากมนุษย์เท่านั้น ไม่ว่างานที่สั่งให้ทำจะถูกหรือผิด เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่รู้จักคิดหรือปรับปรุงวิธีการทำงานให้ดีขึ้น นับเป็นข้อจำกัดอย่างหนึ่งของเครื่องคอมพิวเตอร์

  15. คำศัพท์ต่างๆ เกี่ยวกับ Software ที่ควรรู้ • Commercial Software • ซอฟท์แวร์ที่ผลิตเพื่อจัดจำหน่าย • Shareware • ซอฟท์แวร์ที่ผู้ผลิตให้ทดลองใช้ในช่วงเวลาหนึ่ง • Freeware • ซอฟท์แวร์ที่ผู้ผลิตอนุญาตให้ใช้ได้ฟรี (ผู้ผลิตยังคงเป็นเจ้าของ) • ผู้ผลิตไม่อนุญาตให้เปลี่ยนแปลงต้นฉบับ • Public-Domain Software • ซอฟท์แวร์ที่ผู้ผลิตยกให้เป็นสมบัติของสาธารณะ • ไม่มีลิขสิทธิ์

  16. ประเภทของ Software • ซอฟท์แวร์ระบบ (Systems Software)มี 2 ประเภท • ระบบปฏิบัติการ (Operating System) • ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) • ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software) มี 2 ประเภท • ซอฟท์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน (Special Purpose Software) • ซอฟท์แวร์สำหรับใช้งานทั่วไป (General Purpose Software)

  17. ซอฟท์แวร์ระบบ(Systems Software) • โปรแกรมที่ทำหน้าที่ติดต่อกับส่วนประกอบต่างๆ ของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และอำนวยเครื่องมือสำหรับทำงานพื้นฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์ เช่น • การแสดงรายชื่อแฟ้ม • การ copy • การแสดงผลทางจอภาพ มีรายละเอียดเพิ่มเติมที่http://www.osdata.com/ “Operating System Technical Comparison.”

  18. Mac OS X Red Hat Linux Windows XP Professional ซอฟท์แวร์ระบบ(Systems Software) มี 2 ประเภท คือ • ระบบปฏิบัติการ (Operating System หรือ OS) • ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)

  19. ซอฟท์แวร์ระบบ(Systems Software) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) • ชุดโปรแกรม ที่อยู่ระหว่างฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ • มีหน้าที่ • จัดการส่วนประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น CPU หน่วยความจำ ที่เกี่ยวข้อมูลสำรอง และเครื่องพิมพ์ • จัดการในส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ • ให้บริการโปรแกรมประยุกต์อื่น เช่น การรับข้อมูล การแสดงผล โดยโปรแกรมประยุกต์จะถูกเรียกใช้เริ่มต้นทำงานผ่านระบบปฏิบัติการ และได้รับการจัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ที่ต้องการผ่านทางระบบปฏิบัติการด้วย

  20. OS ทำหน้าที่ติดต่อกับส่วนประกอบต่างๆ ของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และ Application Program

  21. ซอฟท์แวร์ระบบ(Systems Software) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) • ระบบปฏิบัติการที่ทำงานบน Microcomputer • ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows • ระบบปฏิบัติการแบบเปิด เช่น UNIX, LINUX • ระบบปฏิบัติการ Mac OS X หรือ MacIntosh System 7 ของเครื่องตระกูล Apple หรือ MacIntosh • Note: • IBM PC = IBM Personal Computer • เครื่องคอมพิวเตอร์เลียนแบบ IBM PC = IBM PC Compatible

  22. Microsoft Windows XP

  23. LINUX

  24. Mac OS X

  25. ซอฟท์แวร์ระบบ(Systems Software) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) • ระบบปฏิบัติการที่ทำงานบนเครื่อง PDA • เครื่อง PDA ตระกูล Palm (หรือ Palm Compatible) ใช้ Palm OS • เครื่อง PDA ยี่ห้ออื่นๆ (อาจเรียก Pocket PC ) ใช้ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows CE

  26. ซอฟท์แวร์ระบบ(Systems Software) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) • ระบบปฏิบัติการเครือข่าย • เรียกว่า Network Operating System หรือ NOS • สำหรับจัดการงานด้านการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ • ช่วยให้คอมพิวเตอร์ที่ต่อเครือข่ายสามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ ร่วมกัน • มีระบบป้องกันการสูญหายของข้อมูลด้วย • ในปัจจุบันใช้หลักการประมวลผลแบบ Client/Server • Server ทำหน้าที่ จัดการรับ-เก็บ-ส่งข้อมูล • Client ทำหน้าที่ประมวลผล

  27. ตัวอย่างหน้าจอNovell Netware

  28. ตัวอย่างหน้าจอWindows NT

  29. ซอฟท์แวร์ระบบ(Systems Software) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) • ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ • ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาขึ้นเฉพาะ เช่น เครื่องเมนเฟรม ระบบจะทำงานซับซ้อนมากขึ้น เช่น • ต้องดูแลผู้ใช้งานพร้อมๆ กันจำนวนมาก (Multiuser) • ต้องทำการดูแลสั่งงานพร้อมๆกัน หลายๆโปรแกรม (Multitasking) • การจัดลำดับและการแบ่งปันทรัพยากรให้ผู้ใช้ • ตลอดจนรักษาความเป็นส่วนตัวและความลับของผู้ใช้งาน

  30. ซอฟท์แวร์ระบบ(Systems Software) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) • ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ • Multiuser • เป็นระบบที่หน่วยประมวลผลกลางแบ่งเวลาการทำงานให้ผู้ใช้หลายคนสามารถทำงานได้พร้อมๆกัน (user จะรู้สึกว่าทำงานพร้อมกัน แต่จริงๆแล้วเป็นการแบ่งเวลาทำงานโดย CPU) • Multitasking • เป็นระบบปฏิบัติการที่สามารถทำงานหลายงานพร้อมกันได้ (Program ผลัดกันใช้ CPU) • Cooperative multitasking แต่ละโปรแกรมใช้เวลา CPU นานเท่าไรก็ได้ • Preemptive multitasking ระบบปฏิบัติจะเข้าควบคุม CPU เพื่อให้แต่ละโปรแกรมแบ่งใช้เวลา CPU อย่างเหมาะสม

  31. ซอฟท์แวร์ระบบ(Systems Software) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) • ระบบปฏิบัติการแบบเปิด (Open Operating System) • ในสมัยก่อนผู้ผลิตระบบปฏิบัติการ ก็คือผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นเขาจึงออกแบบให้ใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ของบริษัทเท่านั้น เรียก OS แบบนี้ว่า OS แบบปิด (Proprietary Operating System) • ปัจจุบันมีการทำให้ OS สามารถนำไปใช้งานบนเครื่องต่าง ๆ ได้ (Portable OS) เช่น ระบบปฏิบัติการ UNIX และ LINUX เป็นต้น

  32. UNIX Screen

  33. ซอฟท์แวร์ระบบ(Systems Software) ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) • เนื่องจากคอมพิวเตอร์ สามารถเข้าแต่ภาษาเครื่องเท่านั้น จึงต้องมีตัวแปลภาษาเพื่อแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine Language) • โปรแกรมต้นฉบับ หรือ โปรแกรมที่เราเขียน เรียกว่า Source Code • โปรแกรมที่ใช้ Translator แปลแล้ว เรียกว่า Object Code

  34. ซอฟท์แวร์ระบบ(Systems Software) ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) • ประเภทของ Translator • Assembler • แปลภาษา Assembly ให้เป็นภาษาเครื่อง • Interpreter • ทำการแปลพร้อมกับทำงานตามคำสั่งทีละบรรทัด ตลอดไปทั้งโปรแกรม • ไม่มีการเก็บ Object Code ทำให้ต้องแปลใหม่ทุกครั้ง • Compiler • แปลทั้งโปรแกรมให้เป็น Object Code • และเก็บ Object Code ไว้ใช้งานได้เมื่อต้องการ

  35. ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software) • ซอฟต์แวร์ประยุกต์ หมายถึง โปรแกรมที่ทำหน้าที่ต่าง ๆ ตามที่ต้องการ • แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท • ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน (Special Purpose Software) • ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป (General Purpose Software)

  36. ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟท์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน • หรือ Special Purpose Software • เหมาะกับงานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมคำนวณค่าน้ำ โปรแกรมสำหรับการฝากถอนเงิน • มักไม่มีจำหน่ายทั่วไป ต้องพัฒนาเอง (เขียนโปรแกรมเอง) หรือจ้างผู้อื่นให้พัฒนาให้โดยเฉพาะ • สำหรับงานบางด้าน เช่น ระบบบัญชี หรือ ระบบสินค้าคงคลัง มีวางจำหน่ายแต่ก็มักมีราคาสูง

  37. ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟท์แวร์สำหรับงานทั่วไป • หรือ General Purpose Software • เป็นซอฟท์แวร์ที่ออกแบบมาให้เหมาะกับงานทั่ว ๆ ไป แบ่งได้ดังนี้ • ซอฟต์แวร์ตารางวิเคราะห์อิเล็กทรอนิกส์(Electronic Spreadsheet) เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft Excel • ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ(Word Processing) เช่น CU Writer และ Microsoft Word • ซอฟต์แวร์การพิมพ์แบบตั้งโต๊ะ(Desktop Publishing) มีความสามารถ ด้านการจัดเอกสาร การเรียงพิมพ์ การจัดสีที่สูงกว่าซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ

  38. ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟท์แวร์สำหรับงานทั่วไป • เป็นซอฟท์แวร์ที่ออกแบบมาให้เหมาะกับงานทั่ว ๆ ไปดังนี้ (ต่อ) • ซอฟต์แวร์นำเสนอ(Presentation Software) เช่น Microsoft PowerPoint • ซอฟต์แวร์กราฟิก (Graphic Software) สำหรับสร้าง ตกแต่งรูปภาพต่าง ๆ เช่น Adobe Photoshop • ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล (Database Software) มีความสามารถ ด้านการสร้าง และจัดการแฟ้มข้อมูล การค้นหา และการเรียกใช้ข้อมูล เช่น dBASE III Plus, Microsoft Access, Oracle, DB2, Microsoft SQL, Sybase, Informix เป็นต้น

  39. ตัวอย่างหน้าจอ Graphic Software Adobe Photoshop

  40. ตัวอย่างหน้าจอ Database Software Oracle

  41. ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟท์แวร์สำหรับงานทั่วไป • ออกแบบมาให้เหมาะกับงานทั่ว ๆ ไป (ต่อ) • ซอฟต์แวร์สื่อสารโทรคมนาคม(Telecommunication Software) เช่น โปรแกรมการร่วมคุยกัน ส่งจดหมาย หรือจองตั๋วผ่านทางอินเตอร์เน็ต • ซอฟต์แวร์ค้นหาข้อมูล (Resource Discovery Software) สำหรับค้นหาข้อมูลที่ต้องการจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น Archie, Gopher, Search Engine ใน World Wide Web เป็นต้น

  42. ตัวGopher Resource Discovery Software  Gopher บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์

  43. www.google.co.th ตัวอย่างหน้าจอ Resource Discovery Software Search Engine

  44. ภาษาคอมพิวเตอร์ • ภาษาของมนุษย์ คือ คำพูด ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์ เป็นต้น • ภาษาของเครื่องคือเลขฐานสอง (ซึ่งใช้เลข 0 หรือ 1 แทนสัญญาณไฟฟ้า) • เราเรียกภาษาที่ใช้เลขฐานสองในคอมพิวเตอร์ ว่า ภาษาเครื่อง (Machine Language)

  45. ภาษาคอมพิวเตอร์ ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์ • ภาษาเครื่อง (Machine Language) • เป็นภาษาระดับต่ำสุด ใช้ตัวเลขในเลขฐาน 2 แทนคำสั่งต่าง ๆ การเขียนยุ่งยากมาก • ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) • ใช้สัญลักษณ์ ที่เรียกว่า Mnemonic Code แทนภาษาเครื่อง ทำให้เขียนโปรแกรมง่ายขึ้น แต่ต้องใช้ Assembler ในการแปล ภาษาแอสเซมบลี • ภาษาระดับสูง(High-level Language) • ถือว่าเป็นภาษาในยุคที่ 3 ใช้คำในภาษาอังกฤษแทนคำสั่งต่าง ๆ รวมทั้งการใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ด้วย เช่น COBOL, FORTRAN, PASCAL, BASIC และ C

  46. ภาษาคอมพิวเตอร์ ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์ • ภาษาระดับสูงมาก(Very High-level Language) เป็นภาษายุคที่ 4 (Fourth-generation Language หรือ 4GL) พัฒนาให้มีความสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น เช่น C++, Visual BASIC เป็นต้น มีข้อดีดังนี้ • การเขียนโปรแกรมเน้นที่ผลของงานว่าต้องการอะไร มากกว่าจะทำอย่างไร • ช่วยพัฒนาเนื้องาน • ไม่ต้องเสียเวลาอบรมผู้เขียนโปรแกรมมากนัก • ผู้เขียนโปรแกรมไม่ต้องทราบถึงฮาร์ดแวร์ของเครื่องและโครงสร้างของโปรแกรม

  47. ภาษาคอมพิวเตอร์ ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์ • ภาษาภาษาธรรมชาติ(Natural Language) • เป็นภาษายุคที่ 5 (Fifth-generation Language หรือ 5GL) ธรรมชาติหมายถึงธรรมชาติของมนุษย์ คือไม่ต้องสนใจถึงคำสั่งหรือลำดับของข้อมูลที่ถูกต้อง • เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงไป คอมพิวเตอร์ จะพยายามแปลคำสั่งหรือประโยคเหล่านั้นเพื่อทำตามคำสั่ง แต่ถ้าไม่สามารถแปลได้ก็จะมีคำถามกลับมาถามผู้ใช้เพิ่มเติม • ภาษาธรรมชาติจะใช้ ระบบฐานความรู้ (Knowledge Base System)

  48. ภาษาคอมพิวเตอร์ การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ • ในหน่วยงานหนึ่งควรเลือกใช้ภาษาเดียวกัน • ดูจากคุณสมบัติหรือข้อดีของภาษานั้น ๆ • ถ้าโปรแกรมที่เขียนขึ้นจะนำไปใช้กับเครื่องต่าง ๆ กัน เลือกภาษาที่ ใช้ได้ทุกเครื่อง • ควรจำกัดภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ ไม่ควรติดตั้งตัวแปลภาษาทุกภาษา บนทุกเครื่อง • เลือกภาษาที่มีผู้รู้อยู่บ้าง • งานที่ไม่ยุ่งยากอาจใช้ภาษาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน เช่น BASIC เพราะเขียนโปรแกรมได้ง่ายและรวดเร็ว

  49. ภาษาคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ • BASIC • COBOL • FORTRAN • PASCAL • C และ C++ • PL/I • PROLOG • LOGO

  50. ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ • การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ • (Object-Oriented Programming หรือ OOP) • ลดความยุ่งยากใน การเขียนโปรแกรม โดยมองทุกอย่างเป็นวัตถุ • ตัวอย่างของ โปรแกรมเชิงวัตถุ เช่น • C++ • Visual BASIC • และ JAVA เป็นต้น

More Related