1 / 38

& การดูแลส่งเสริมสุขภาพ เด็กและเยาวชนวัยเรียน(งานอนามัยโรงเรียน)

& การดูแลส่งเสริมสุขภาพ เด็กและเยาวชนวัยเรียน(งานอนามัยโรงเรียน). ประเด็นยุทธศาสตร์ : ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น. ทัศนีย์ ช่วยรักษา สสจ.พระนครศรีอยุธยา. ขอบเขตการทำงาน กลุ่มเด็ก และเยาวชนวัยเรียน.

Download Presentation

& การดูแลส่งเสริมสุขภาพ เด็กและเยาวชนวัยเรียน(งานอนามัยโรงเรียน)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. &การดูแลส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชนวัยเรียน(งานอนามัยโรงเรียน)&การดูแลส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชนวัยเรียน(งานอนามัยโรงเรียน) ประเด็นยุทธศาสตร์ : ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ทัศนีย์ ช่วยรักษา สสจ.พระนครศรีอยุธยา

  2. ขอบเขตการทำงานกลุ่มเด็ก และเยาวชนวัยเรียน ผู้ที่มีอายุ 6 – 24 ปี ที่ศึกษา :ในระบบโรงเรียน :นอกระบบโรงเรียน (โรงเรียน – สถาบันการศึกษาทุกสังกัด )

  3. สภาพปัญหาสำคัญของจังหวัดสภาพปัญหาสำคัญของจังหวัด • ความรุนแรง • ยาเสพติด • เพศสัมพันธ์ไม่ปลอดภัย ...ท้องในวัยเรียนวัยรุ่น / ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ • โรคอ้วนในเด็ก

  4. สถานการณ์ปัญหาสำคัญ

  5. สถานการณ์การคลอดในหญิงคลอดอายุต่ำกว่า 20 ปี ปี 2550 - 2553 หมายเหตุ : n = จำนวนประชากรหญิง(ในและนอกเขต) อายุต่ำกว่า 20 ปี ที่มาคลอดในรพ. ที่มา : รายงานการคลอด สสจ.พระนครศรีอยุธยา ปี 2550-ปัจจุบัน

  6. สถานการณ์การคลอดในเยาวชนอายุต่ำกว่า 20 ปี ที่มา : ข้อมูลCHILD WATCH 2552 จ.พระนครศรีอยุธยา

  7. สถานการณ์สุขภาพที่สำคัญ(จากระบบรายงาน อรร.) ก่อนประถม n = 23115 คน โรคฟันผุ (58 %) เริ่มอ้วน-อ้วน (7.5%) URI (5.2%) ประถม n = 61920 คน โรคฟันผุ(48.07% ) เหา(16.2 %) เริ่มอ้วน-อ้วน ( 5.4 %) มัธยม n = 45202 คน โรคฟันผุ ( 7.54 %) เริ่มอ้วน-อ้วน (3.9 %) เหา ( 3.5% )

  8. ประเด็นยุทธศาสตร์ ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ผู้ใหญ่เข้าถึง ครอบครัวเอาใจใส่ สังคมปลอดภัย เด็กมีวินัย ฉลาดรู้ปฏิบัติตน แนวทางขับเคลื่อน

  9. เป้าประสงค์ เด็กวัยเรียน วัยรุ่น มีความรู้ ฉลาด สามารถเลือกปฏิบัติตน ให้ห่างไกลภัยสุขภาพได้ เด็กวัยเรียน วัยรุ่น มีพฤติกรรมทางสังคม และพฤติกรรมสุขภาพ เหมาะสม เด็กวัยเรียน วัยรุ่น อยู่ในสังคม และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ

  10. นโยบายจังหวัด * บูรณาการงานสาธารณสุขทุกกลุ่มงานในโรงเรียน - งานบริการสุขภาพในโรงเรียน ( ตามแนวทางใน อร.14 ) - งานนโยบายของ 5 กลุ่มงาน ( ส่งเสริม คร คบส. ทันต สวล. ) - งานตามสภาพปัญหาของพื้นที่ในกลุ่มเด็กวัยเรียน-เยาวชน * การพัฒนา / รักษาระดับมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพให้ต่อเนื่อง * การส่งเสริมพฤติกรรมตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ

  11. ตัวชี้วัด 2554 * โรงเรียนผ่านเกณฑ์โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 100 % และ ระดับทองแดง 0 % * โรงเรียนผ่านมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร อำเภอละ 1 ร.ร. * นักเรียนชั้น ป.5 - ม.6 มีและใช้แบบตรวจสุขภาพด้วยตนเอง 100 % * เด็กวัยเรียน 80 % มีพฤติกรรมผ่านเกณฑ์ตามแนวสุขบัญญัติแห่งชาติ

  12. การดำเนินงานที่ผ่านมา...หลากหลายและทับซ้อนการดำเนินงานที่ผ่านมา...หลากหลายและทับซ้อน

  13. กลยุทธ์การดำเนินงาน • สร้างความเข้าใจและพัฒนาความเข้มแข็งผู้ทำงานด้านเด็ก เยาวชน • ส่งเสริมการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการพัฒนาและแก้ไข • ปัญหาสุขภาพนักเรียน • 3. บูรณาการแผนงาน / โครงการ / กิจกรรมขององค์กรภายใน และ • หน่วยงานผู้เกี่ยวข้อง • 4. พัฒนาและรักษามาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ • 5. ส่งเสริมองค์ความรู้ และทักษะ เพิ่มขีดความสามารถนักเรียนและ • ชมรมสุขภาพในโรงเรียน

  14. การจัดระบบพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ - สุขภาพนักเรียน

  15. ภาคีเครือข่ายดูแลสุขภาพนักเรียนของจังหวัดภาคีเครือข่ายดูแลสุขภาพนักเรียนของจังหวัด • สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา • องค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา / อปท. / เทศบาล • สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา • ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัย • สมัชชาสุขภาพเด็กและเยาวชน/สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา • สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา • มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

  16. ยุทธศาสตร์การดำเนินงานร่วมกับเครือข่ายยุทธศาสตร์การดำเนินงานร่วมกับเครือข่าย

  17. การดำเนินงานดูแลสุขภาพนักเรียนการดำเนินงานดูแลสุขภาพนักเรียน เพื่อ...ลดปัจจัยเสี่ยง

  18. แนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพแนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพ การนำความรู้เข้าสู่ระบบการเรียนการสอน “สุขบัญญัติ 10 ประการ” และ ส่งเสริมการใช้แบบประเมินสุขบัญญัติในนักเรียนทุกโรงเรียน การประเมินสุขบัญญัติในนักเรียน (ผ่านเกณฑ์ 86.9 %) การสนับสนุนให้นักเรียนใช้แบบบันทึกสุขภาพตนเอง 100 % การสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ ครู – นักเรียน เกี่ยวกับการส่งเสริมพฤติกรรมและทักษะสุขภาพ การเพิ่มจำนวนและศักยภาพชมรมHealth Club

  19. บูรณาการงานสาธารณสุขในโรงเรียนบูรณาการงานสาธารณสุขในโรงเรียน • งานบริการสุขภาพในโรงเรียน -สำรวจสุขาภิบาลในโรงเรียน (โรงอาหาร ขยะ ส้วม ลูกน้ำยุงลาย) -สำรวจข้อมูลนักเรียน - ทบทวนกิจกรรมที่ต้องดำเนินการ -เฝ้าระวัง / ป้องกัน / ควบคุมโรคติดต่อ-ไม่ติดต่อ และภาวะผิดปกติ -ตรวจสุขภาพ (โดย จนท.สธ. – นร,ใช้แบบตรวจฯ) / รักษา / ติดตาม -ให้สุขศึกษา / สุขบัญญัติฯ -คัดกรอง/ให้คำปรึกษา นร.กลุ่มเสี่ยงโดย จนท.สธ.– ครู – กลุ่ม FC ลักษณะกิจกรรม = บริการอนามัยโรงเรียนตามแนว อร.14

  20. บูรณาการงานสาธารณสุขในโรงเรียนบูรณาการงานสาธารณสุขในโรงเรียน • งานตามนโยบาย 5 กลุ่มงาน -โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ , Health Club , กินผักทุกวัน , ลดอ้วน (สส,) -ไข้เลือดออก , FC , To be No 1 , DM - HT (คร,) - อย.น้อย , Food safety (คบส.) - ส่งเสริมการแปรงฟัน , เด็กไทยไม่กินหวาน (ทันตฯ) - สุขาภิบาลอาหาร และสิ่งแวดล้อม , ส้วมผ่าน HAS , CFGT (สวล.) ลักษณะกิจกรรม = ประชุม อบรม ประกวด ประเมินมาตรฐาน

  21. กิจกรรม ระดับตำบล - วิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพในโรงเรียน เพื่อทำแผนงานโครงการ - กำหนดปฏิทินการปฏิบัติงานในโรงเรียน และปฏิบัติตามแผนต่อเนื่อง ( บริการ อรร. ประชุม อบรม ประเมิน / เยี่ยมเยียน / ติดตาม ...) - อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ ครู – ผู้นำนักเรียนแบบบูรณาการองค์ความรู้ - ช่วยเหลือโรงเรียนให้ดำเนินกิจกรรมสุขภาพ และจัดตั้งชมรมใน ร.ร. - ใช้เกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นแนวทางยกระดับ / คงสภาพมาตรฐานของโรงเรียน - ช่วยเหลือ และสนับสนุนโรงเรียน / ชมรมสุขภาพให้มีกิจกรรมที่เด่นชัด และต่อเนื่อง เพื่อเสริมความเข้มแข็งของเครือข่ายสุขภาพในอำเภอ

  22. โรงเรียน ครอบครัว / ชุมชน ส่งเสริมให้ทุกคนมี ส่วนร่วมดูแลสุขภาพตน จัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อสุขภาพที่ดี สนับสนุนการจัดกิจกรรมสุขภาพของนักเรียน นักเรียน มีพฤติกรรมอนามัยเหมาะสม มีภูมิคุ้มกันชีวิต (เลือกปฏิบัติแยกแยะได้ ) ไม่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้/โรคเรื้อรัง OUTPUT & OUTCOME :HPS เพื่อ...คุณภาพชีวิตที่ดีของทุกคนในโรงเรียน

  23. ข้อสังเกตุ • ครู 1 คน..... ดูแลนักเรียนให้เรียนเก่ง เป็นคนดี มีความสุข หลายร้อย หลายพันคน • เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1 คน..... เฝ้าระวัง ควบคุม/ป้องกัน รักษาพยาบาล ประชาชนทุกกลุ่มวัยตั้งแต่เกิด – จะตาย ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม....ลดอัตราการตายที่ไม่สมควรตายก่อนวัย (มะเร็ง หัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง)

  24. Health Club คือ...อะไร .........คือ กลุ่มนักเรียนที่ถูกคัดเลือก หรือ มีจิตอาสา รวมตัวกันคิดและทำกิจกรรมสุขภาพในโรงเรียน ชุมชน เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกคน โดยเป็นแบบอย่างที่ดี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง ผองเพื่อน ครอบครัว และชุมชน....โดยมีคุณครู เป็นที่ปรึกษา และ จนท.สธ.เป็นพี่เลี้ยง ..........คือ แหล่งชุมนุมของแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพ “อาศัยธรรมชาติของเด็กที่เชื่อและไว้ใจเพื่อน....เป็นสื่อกลางขยายความรู้”

  25. ทำใมต้องมี....HEALTH CLUB • ยุคสื่อไร้พรมแดน • สังคมไม่ปลอดภัย ครอบครัวแตกแยก • ภารกิจผู้ใหญ่หลากหลาย • ภัยคุกคามทางสุขภาพ • บทบาทเพื่อนสูงขึ้น

  26. พัฒนาการของแกนนำนักเรียนพัฒนาการของแกนนำนักเรียน

  27. ชมรมต่างๆในโรงเรียน (เดิม)

  28. Health Club ในโรงเรียน

  29. บทบาทของนักเรียนชมรม Health Club 1. จัดกิจกรรมในโรงเรียน / ให้ความรู้ .....เพื่อให้ทุกคน • ปฏิบัติตนตามแนวทางสุขบัญญัติ 10 ประการ • รู้จักเลือกบริโภคอาหาร น้ำดื่มที่สะอาด ถูกหลักโภชนาการ ปลอดภัย • รู้จักวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง • รู้จักใช้ / ดูแลห้องสุขาอย่างถูกต้อง • รู้จักการควบคุมและกำจัด... ขยะ - ลูกน้ำยุงลาย • ดูแลแปรงฟันให้สะอาด / เหงือกแข็งแรง 2. มีการตรวจสอบอาหาร/เครื่องปรุง ยา และเครื่องสำอางในโรงเรียน/ชุมชน 3. จัดมุมบริการFriend Corner - To be number One (ปรับทุกข์ สร้างสุขแก้ ปัญหา(ทุกด้าน) พัฒนา EQ)

  30. ความคาดหวัง • แกนนำนักเรียน มีจิตอาสาพัฒนาสุขภาพสมาชิกในโรงเรียน / ชุมชน • แกนนำ มีบทบาทสร้างสมาชิกในโรงเรียน ให้มีความปรารถนาดูแลสุขภาพ และลุกขึ้นทำกิจกรรมสุขภาพ ด้วยตนเอง • แกนนำนักเรียน ปฏิบัติบทบาทชัดเจนในกิจกรรมสุขภาพ โดยการสนับสนุนของโรงเรียน/ชุมชน

  31. บทบาทของพวกเรา...สาธารณสุขและครูบทบาทของพวกเรา...สาธารณสุขและครู • บริการสุขภาพนักเรียน ( ที่โรงเรียน / หน่วยบริการ) • สนับสนุนการใช้แบบตรวจสุขภาพตนเอง ( ป.5 – ม.6 ) • ส่งเสริมและจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาวะที่ดี • สร้างแกนนำ (ถ่ายทอดความรู้)...ป้องปรามภัยคุกคามทางสุขภาพ • หาแหล่งงบประมาณให้เด็กๆทำโครงงาน ...ประสานชุมชนใจดี • สนับสนุนการจัดกิจกรรมสุขภาพในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง • ส่งเสริม(ให้ความรู้) และประเมินพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน (วัดผล)

  32. แนวทางการจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาในภาพรวมแนวทางการจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาในภาพรวม • จัดทำแผนบูรณาการยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนระดับจังหวัด และผลักดันเข้าสู่ระบบของหน่วยงาน • ส่งเสริมการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธ์ศาสตร์ (SRM & SLM) ทุกระดับ เพื่อเป็นเครื่องมือแก้ไขปัญหา และเพิ่มการมีส่วนร่วมในภารกิจบทบาทของหน่วยงานทุกภาคส่วน • การพิเคราะห์ข้อมูลปัญหาสุขภาพ / อัตราป่วย / อัตราตาย ในเด็กวัยเรียน วัยรุ่น เพื่อนำไปสู่การจัดระบบการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพนักเรียนร่วมกับหน่วยงาน/ชุมชน • การเพิ่มขีดความสามารถแกนนำนักเรียนชมรม Health Club เป็นสื่อสุขภาพในโรงเรียน

  33. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร • เป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ณ ปัจจุบัน • มีชมรมเด็กไทยทำได้ หรือชมรมสุขภาพอื่นๆที่ดำเนินกิจกรรมโดยนักเรียน อย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป • มีนักเรียนอ้วน(นน./สส.) < ร้อยละ 7 และ เตี้ย (สส./อายุ) < ร้อยละ 5 • นักเรียนร้อยละ 80 มีสมรรถภาพกายอยู่ในเกณฑ์ดี ครบ 4 เรื่อง • นักเรียนร้อยละ 90 มี EQ อยู่ในเกณฑ์ปกติและสูงกว่า • น้ำดื่มสะอาดผ่านเกณฑ์ของกรมอนามัย , มีจุดบริการน้ำดื่ม (1 ที่/ 75คน) • นักเรียนกินผักมื้อกลางวัน 4 ช้อนกินข้าว/มื้อ/คน (ทุกวันเปิดเรียน)

  34. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร • ส้วมผ่าน HAS ครบ 16 ข้อ • ไม่จำหน่ายอาหาร ขนม ที่มีไขมันสูง เค็มจัด หวานจัด น้ำอัดลม และเครื่องดื่มที่มีรสหวานจัด (ทุกวันเปิดเรียน) • โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ครบ 30 ข้อ • โรงอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ครบ 30 ข้อ • 1 รอบปีที่ผ่านมาไม่มีนักเรียนได้รับบาดเจ็บในโรงเรียนจนต้องนอน รพ. • โรงเรียนมีการจัดการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากมลพิษภายนอกที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ • มีโครงงานสุขภาพของนักเรียนที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม ป้องกัน แก้ไขปัญหาสุขภาพในโรงเรียนและหรือชุมชน อย่างน้อย 1 เรื่อง

  35. เว๊บไซต์ สสจ. • www.ayo.moph.go.th/health • HEALTH CLUB

  36. สวัสดี

More Related