1 / 27

การประเมินหลักสูตร CURRICULUM EVALUATION

การประเมินหลักสูตร CURRICULUM EVALUATION. ดร. เดชกุล มัทวานุกูล สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. www.themegallery.com. ความหมาย. สุมิตร คุณากร. 2520

lamar-tate
Download Presentation

การประเมินหลักสูตร CURRICULUM EVALUATION

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินหลักสูตรCURRICULUM EVALUATION ดร. เดชกุล มัทวานุกูล สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ www.themegallery.com

  2. ความหมาย สุมิตร คุณากร. 2520 “การหาคำตอบว่า หลักสูตรสัมฤทธิผลตามที่กำหนดไว้ ในความมุ่งหมายหรือไม่ ตัดสินสัมฤทธิผลของหลักสูตร มีขอบเขตรวมถึง 1) การวิเคราะห์ตัวหลักสูตร 2) การวิเคราะห์กระบวนการนำหลักสูตรไปใช้ 3) การวิเคราะห์สัมฤทธิผลในการเรียนของนักเรียน 4) การวิเคราะห์โครงการประเมินหลักสูตร

  3. ความหมาย(ต่อ) วิชัย วงษ์ใหญ่ .2523 การพิจารณาคุณค่าของหลักสูตร โดยใช้ผลจากการวัดในแง่มุมต่างๆ ของสิ่ง ที่ประเมินเพื่อนำมาพิจารณาร่วมกัน และสรุปว่าจะให้คุณค่าของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น มานั้นว่าอย่างไร” ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ .2539 : 139 “การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล แล้วนำข้อมูลมาตัดสินหาข้อบกพร่อง หรือปัญหาเพื่อหาทางปรับปรุง แก้ไขส่วนประกอบของทุกส่วนของหลักสูตรให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น

  4. จุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตรจุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตร เพื่อตัดสินความถูกต้องเหมาะสมของ การบริหารงานวิชาการ และการบริหารหลักสูตร เพื่อหาคุณค่าของหลักสูตรสามารถ สนองวัตถุประสงค์และความต้องการ ของผู้เรียน เพื่อติดตามผลผลิตจากหลักสูตร จุดมุ่งหมายของ การประเมินหลักสูตร เพื่ออธิบายและพิจารณา ความสอดคล้องขององค์ประกอบ เพื่อปรับปรุงสิ่งบกพร่อง ที่พบในองค์ประกอบหลักสูตร เพื่อตัดสินคุณภาพและ ความเหมาะสมหลักสูตร เพื่อช่วยในการตัดสินใจในการใช้ หลักสูตร หรือควรปรับปรุง

  5. ทราบจุดเด่น/จุดด้อย เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงหลักสูตร สร้างความมั่นใจความน่าเชื่อถือให้เกิดขึ้นต่อชุมชน ช่วยกำหนดทิศทางในการบริหารงานวิชาการ ประโยชน์ของ การประเมิน หลักสูตร ส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญและเข้าใจในการจัดการศึกษา ส่งเสริมสัมพันธภาพอันดีให้กับโรงเรียนต่อชุมชน เป็นเครื่องมือช่วยประเมินผล ช่วยให้สามารถวางแผนการเรียนในอนาคต

  6. สิ่งที่ควรประเมินในหลักสูตรสิ่งที่ควรประเมินในหลักสูตร 03 01 02 สัมฤทธิ์ผลของหลักสูตร ผลการใช้หลักสูตร เอกสารหลักสูตร • สัมฤทธิ์ผลทางวิชาการ (ความรู้, ความสามารถ) • สัมฤทธิ์ผลที่ไม่ใช่วิชาการ (บุคลิกภาพ, ความซื่อสัตย์, ความรับผิดชอบ, ความสามัคคี) • ความก้าวหน้าของผู้สำเร็จการศึกษา การสังเกต การสัมภาษณ์ การสอบถามครูผู้สอน ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน • การวิเคราะห์เนื้อหา • การสัมภาษณ์, สอบถามผู้เชี่ยวชาญ

  7. ด้านเกณฑ์การ ประเมิน ด้านวิธีการ ประเมิน ด้านการวางแผน การประเมิน ด้านความกลัว ผลการประเมิน ด้านขาดความมุ่งมั่น ในการนำไปใช้ ความเชี่ยวชาญ ของคณะกรรมการ ประเมิน ด้านการประเมิน ทั้งระบบ ด้านเวลา ปัญหาในการประเมิน หลักสูตร ด้านการประเมิน ต่อเนื่อง

  8. การประเมินก่อนนำหลักสูตรไปใช้การประเมินก่อนนำหลักสูตรไปใช้ การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการนำหลักสูตรไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย เป็นการประเมินก่อนที่จะมีการใช้หลักสูตรจริงๆ

  9. วัตถุประสงค์ของการประเมินก่อนนำหลักสูตรไปใช้วัตถุประสงค์ของการประเมินก่อนนำหลักสูตรไปใช้ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ส่วนประกอบครบถ้วน คุณภาพของส่วนประกอบ จุดอ่อนของหลักสูตร ความสอดคล้องและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ ความเป็นไปได้ ความคุ้มทุนและระยะเวลาในการดำเนินการ สนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย

  10. แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) เทคนิคการวิเคราะห์แบบปุยซองค์ (Puissance Analysis Technique) การพิจารณาโดยผู้เชี่ยวชาญ (Expert Judgement) การประเมินความต้องการจำเป็น (Needs Assessment) การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) การทดลองนำร่อง (Pilot Study) เทคนิคและวิธีการประเมินผลก่อนนำหลักสูตรไปใช้

  11. การประเมินระหว่างดำเนินการใช้หลักสูตรการประเมินระหว่างดำเนินการใช้หลักสูตร การประเมินหลักสูตรที่อยู่ในช่วงดำเนินการ หรืออยู่ ในช่วงการใช้หลักสูตรเพื่อเป็นการตรวจสอบว่า หลักสูตรนำ ไปใช้ในสถานการณ์จริงได้ดีเพียงใด มีส่วนไหนที่เป็นอุปสรรค ต่อการใช้หลักสูตร

  12. วัตถุประสงค์ของการประเมินวัตถุประสงค์ของการประเมิน ระหว่างดำเนินการใช้หลักสูตร ความเหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมาย การดำเนินการเป็นไป ตามกำหนดเวลา

  13. เทคนิคและวิธีการประเมินผลระหว่างดำเนินการใช้หลักสูตรเทคนิคและวิธีการประเมินผลระหว่างดำเนินการใช้หลักสูตร 1. การทดลอง (Experiment) - การหาความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผล 2. การวิเคราะห์หลักสูตร - การให้ความสนใจต่อรายละเอียดของหลักสูตรอย่างเป็นระบบ และมีเกณฑ์ - การวิเคราะห์จุดมุ่งหมายของหลักสูตร - การวิเคราะห์เนื้อหา - การวิเคราะห์กิจกรรม - การวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อประเมินผลการเรียน

  14. การประเมินหลังการใช้หลักสูตรการประเมินหลังการใช้หลักสูตร การประเมินหลังจากได้นำหลักสูตรไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายครบวงจร เพื่อให้รู้คำตอบต่างๆ เกี่ยวกับหลักสูตรทั้งหมดในภาพรวม ว่าผลการใช้หลักสูตรเป็นอย่างไร ก่อให้เกิดผลอื่นใดตามมา

  15. การประเมินหลังการใช้หลักสูตรการประเมินหลังการใช้หลักสูตร ประเมินหลักสูตรภายหลังการดำเนินการเสร็จสิ้น ระยะที่ 1 ประเมินหลักสูตรภายหลังโดยกำหนดช่วงเวลาออกไปตามความเหมาะสม ระยะที่ 2

  16. วัตถุประสงค์ 1. ตรวจสอบผลการใช้หลักสูตรว่าเป็นเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในวัตถุประสงค์ 1 2. ตรวจสอบการใช้ทรัพยากรในการดำเนินการใช้หลักสูตร 2 3 3. ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการใช้หลักสูตรที่แท้จริง 4 4. ประเมินองค์ประกอบทุกด้าน ทั้งด้านสภาวะแวดล้อม (context) ด้านปัจจัยนำเข้า (input) ด้านกระบวนการ(process) ด้านผลผลิต (output)

  17. เทคนิคและวิธีการประเมินหลังการใช้หลักสูตรเทคนิคและวิธีการประเมินหลังการใช้หลักสูตร การประเมินสัมฤทธิ์ผลของหลักสูตร การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย การประเมินผลกระทบ การประเมินหลักสูตรทั้งระบบ

  18. การประเมินสัมฤทธิ์ผลของหลักสูตรการประเมินสัมฤทธิ์ผลของหลักสูตร การประเมินผลที่เกิดกับผู้เรียนหรือความสำเร็จของผู้เรียนว่าสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรมากน้อยเพียงใด 1. สัมฤทธิ์ผลทางวิชาการ (Academic achievement) และสัมฤทธิ์ผลที่ไม่ใช่วิชาการ (Non-academic achievement) 2. สัมฤทธิ์ผลตามจุดมุ่งหมายทางการศึกษา (Bloom et.al. 1967) 2.1 ด้านสติปัญญา (CognitiveDomain) แบบทดสอบ 2.2 ด้านความรู้สึก (AffectiveDomain) แบบวัดทัศนคติ ความพึงพอใจ 2.3 ด้านทักษะ (PsychomotorDomain) แบบวัดภาคปฏิบัติ

  19. การประเมินหลักสูตรทั้งระบบการประเมินหลักสูตรทั้งระบบ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการเปลี่ยนแปลงและการบริหารจัดการ ทรัพยากรในการใช้หลักสูตรให้เกิดประโยชน์สูงสุด การประเมินหลักสูตรทั้งระบบส่วนใหญ่จะทำการประเมิน ด้านสภาวะแวดล้อม (Context) ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ด้านกระบวนการ (Process) ผลผลิต (Product)

  20. รูปแบบของสตัฟเฟิลบีมDaniel L. Stufflebeam(CIPP Model) รูปแบบที่เน้นเกี่ยวกับการตัดสินใจทางด้านการศึกษา 4 แนวทาง 1. การตัดสินใจเพื่อนำไปสู่แนวทางการเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิง หรือเปลี่ยนแปลงทั้งหมด 2. การตัดสินใจเพื่อเปลี่ยนแปลงบางสิ่งบางอย่างแต่ยังคงสภาพเดิมไว้ 3. การตัดสินใจเพื่อปรับปรุงและพัฒนา 4. การตัดสินใจเพื่อนำสิ่งใหม่เข้ามาในระบบ โดยวิธีการทดลองหรือสืบค้นอย่างมีระบบ

  21. CIPP Model 1. การประเมินบริบท (Context Evaluation) จุดมุ่งหมาย เพื่อพิจารณาสภาพปัจจุบัน กำหนดประชากรเป้าหมาย ประเมินความต้องการ วินิจฉัย ปัญหา พิจารณาจุดมุ่งหมายของหลักสูตรว่าสามารถแก้ปัญหาและความต้องการหรือไม่ วิธีการ ศึกษา วิเคราะห์ระบบ วิเคราะห์งาน วิเคราะห์เอกสาร สำรวจ วินิจฉัยจากการสอบและเทคนิคเดลฟาย การตัดสินใจ ตัดสินใจเกี่ยวกับสิ่งที่กำหนดไว้ว่าจะดำเนินการและตัดสินใจเกี่ยวกับ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร การวางแผน

  22. 2. การประเมินปัจจัยเบื้องต้น (Input Evaluation) จุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ข้อมูลในการพิจารณาสิ่งที่จะกำหนดให้หรือมีอยู่ว่าจะนำไปใช้ ประโยชน์อย่างไร วิธีการ ศึกษาแหล่งทรัพยากร วิธีดำเนินการเพื่อความเป็นไปได้ ความเหมาะสม ความประหยัดในการดำเนินหลักสูตร โดยวิธีการไปดูการทดลองหลักสูตร การตัดสินใจ ตัดสินใจเกี่ยวกับการดำเนินหลักสูตร การวางรูปแบบในการดำเนินการ

  23. 3. การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) จุดมุ่งหมาย 1. ตรวจสอบข้อบกพร่องในการดำเนินงาน 2. ใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับหลักสูตร 3. เพื่อบันทึกเกี่ยวกับวิธีการดำเนินงานเป็นระยะ วิธีการ เก็บข้อมูลอย่างสม่ำเสมอในขณะดำเนินการ เพื่ออธิบายขั้นตอนของ การปฏิบัติ การตัดสินใจ ตัดสินใจเกี่ยวกับการดำเนินหลักสูตรและปรับหลักสูตรตลอดจนขั้นตอน การปฏิบัติที่จะบังเกิดผลดี

  24. 4. การประเมินผลผลิต (Product Evaluation) จุดมุ่งหมาย เพื่อตรวจสอบผลจากหลักสูตรว่าสอดคล้องตามจุดมุ่งหมายเพียงใด วิธีการ พิจารณาข้อมูลของผลจากหลักสูตร โดยรวบรวมข้อมูลจากการทดสอบและ การสังเกตในด้านปริมาณและคุณภาพ การตัดสินใจ ตัดสินใจว่าจะดำเนินการต่อไป ระงับหรือปรับปรุงอย่างไร

  25. บรรณานุกรม ศักดิ์ศรี ปาณะกุล.(2543). การประเมินหลักสูตร. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สุนีย์ ภู่พันธ์. (2546). แนวคิดพื้นฐานการสร้างและพัฒนาหลักสูตร. เชียงใหม่ : The knowledge center. ชวลิต ชูกำแพง. (2551). การพัฒนาหลักสูตร. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

  26. Thank You! Dr. Detkul Matavanukul

More Related