1 / 20

ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย

ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย. YES. NO. การพัฒนาระบบการส่งตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโรคธาลัสซีเมีย ( PND) ด้วยวิธีการเจาะน้ำคร่ำ โดย ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี. เป้าหมายงาน Thal คือ : การลดทารกเกิดใหม่ให้ป่วยเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง 3 โรค 1.Bart’s Hydrops Fetalis

lali
Download Presentation

ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทยทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย YES NO

  2. การพัฒนาระบบการส่งตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโรคธาลัสซีเมีย (PND) ด้วยวิธีการเจาะน้ำคร่ำ โดย ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี

  3. เป้าหมายงาน Thal คือ : การลดทารกเกิดใหม่ให้ป่วยเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง 3 โรค 1.Bart’s Hydrops Fetalis 2.Homozygous-thalassemia 3.-thal/ Hb E

  4. กรมอนามัยได้กำหนดแนวทาง • เพื่อลดโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง(3 โรค) ไว้ 4 ขั้นตอน ดังนี้ • ให้ความรู้และให้การปรึกษา • การตรวจทางห้องปฏิบัติการ • การวินิจฉัยก่อนคลอด (PND)*** • การให้ทางเลือกแก่คู่สมรส เมื่อทราบว่า • ทารกในครรภ์เป็นโรค

  5. การประเมินผลดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย (เขต 11,14) ปี 2549

  6. ผลการดำเนินงานปี 2549 จำนวนหญิงตั้งครรภ์และสามีที่ส่งตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด 57 ราย (ที่ มข.)

  7. ปัญหา-ความครอบคลุมในการตรวจคัดกรอง และการตรวจยืนยันเพื่อวินิจฉัย จนถึง ขั้นตอนสิ้นสุดค่อนข้างต่ำ- ระบบเครือข่ายไม่เอื้ออำนวยต่อการ ตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด (PND)- ขาดการประสานงานที่มีประสิทธิภาพ ระหว่างผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง

  8. การพัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายฯ ในปี 2550 โดยการพัฒนาศูนย์อนามัยที่ 7 เป็นศูนย์กลางเจาะน้ำคร่ำส่ง ตรวจเพื่อการวินิจฉัยทารกในครรภ์ นำไปสู่

  9. ตรวจคัดกรองที่โรงพยาบาลต้นสังกัดตรวจคัดกรองที่โรงพยาบาลต้นสังกัด • OF/DCIP พบผลผิดปกติ • เป็นคู่เสี่ยงต่อ Hb Bart”s hydrop ให้ส่ง PCR for α 1 trait ที่ศูนย์วิทย์ฯ • ถ้าเป็นคู่เสี่ยงต่อ -thal diaease , Hb E disease ส่งตรวจ รพท./รพศ. • (รพ.ต้นสังกัด สามารถแบ่งเลือดส่งตรวจไปพร้อมกันทั้ง 2 กรณีได้ • ถ้าข้อจำกัดด้านอายุครรภ์ที่มากแล้ว) GA< 16 wk. รับบริการที่ สอ/ รพ.ต้นสังกัด หญิงตั้งครรภ์ และสามี เป็นคู่เสี่ยงต่อ -thal diaease / -thal /E- disease เป็นคู่เสี่ยงต่อ Hb Bart”s hydrop รพ.ที่มีสูติแพทย์สามารถทำ Serial U/S และพิจารณา ทำยุติการตั้งครรภ์ รพ.ที่ไม่มีสูติแพทย์หรือไม่สามารถ ดำเนินการต่อได้ เจาะน้ำคร่ำ ที่ ศูนย์อนามัยที่ 7 เพื่อส่งตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด (PND) (ก่อนเจาะน้ำคร่ำ จะเจาะเลือดคู่สมรสเพื่อส่งตรวจ PCR สาย ที่ มข.) ในปีแรก - แช่เย็นนำส่งโดยทาง รถยนต์ราชการ(ไป-กลับภายใน 1 วัน) มข ปีที่ 2 –นำส่งทางไปรษณีย์

  10. ผลงาน ปี 2550: พบคู่เสี่ยง 33 คู่

  11. ผลการดำเนินงานปี 2550 จำนวนคู่เสี่ยงที่ส่งต่อมาเพื่อมารับบริการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด 33 ราย แยกรายจังหวัด

  12. จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่เสี่ยงจริงที่มีโอกาสให้กำเนิดบุตร เป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงแยกรายจังหวัด ปี 50 (รวม 16 ราย =48.5%)

  13. ประเมินผล: โดย- ระบบรายงาน- ติดตามประเมินผลระบบการ ดำเนินงานใน รพศ/รพท. ศอ.7 ทำหนังสือแจ้งเวียนการดำเนินงานตามเครือข่ายใหม่ ให้กับ สสจ.ทุกแห่ง ประสานต่อให้ รพ.ได้พิจารณา/ถือปฏิบัติ

  14. ผลพบว่า : 1. จากการนิเทศติดตามพบ : เกิดศูนย์บริการเจาะน้ำคร่ำฯ ที่ รพศ.สปส. เพียงแห่งเดียว 2. ข้อมูลการดำเนินงาน ส่วนใหญ่มีเฉพาะผลการ ตรวจคัดกรองฯ

  15. ผลงานหลังจากสิ้นสุดการพัฒนาระบบฯ ที่ ศอ.7 ........ถ่ายทอดระบบสู่เครือข่ายฯ

  16. ประเด็นที่พบ : จากการผลประเมินฯ ในปี 2551-2552 - พบมีการปรับเปลี่ยนแนวทางการบริหารจัดการงบประมาณของประเทศ ปี 2551 • การคัดกรองในหญิงตั้งครรภ์ พบปัญหา หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ช้า ไม่คัดกรองกรณีอายุครรภ์เกิน 16 สัปดาห์ • ไม่ส่งตรวจยืนยันเพื่อวินิจฉัยพาหะกรณี แอลฟ่า (บุคลากรไม่ทราบว่าต้องตรวจ / งบประมาณจำกัด) • การให้คำปรึกษาไม่มีประสิทธิภาพ (ผู้ให้คำปรึกษาแปลผลไม่ได้ / ไม่ทราบว่าเป็นคู่เสี่ยง)

  17. ประเด็นที่พบ: จากการผลประเมินฯ ในปี 2551-2552 (ต่อ) • ผู้รับบริการเข้าไม่ถึงบริการ /แบกรับค่าใช้จ่ายการเดินทางไปรับบริการฯ (ซึ่งอยู่ไกล) • ขาดการมีส่วนร่วมของนักเทคนิคการแพทย์ในการดำเนินงานฯ/ส่งต่อให้กับผู้เกี่ยวข้อง • การส่งต่อคู่สมรส/ติดตามคู่เสี่ยง ขาดการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ • ระบบข้อมูลในขั้นตอนการส่งตรวจยืนยัน....การทำ PND ขาดการรวบรวมและส่งต่อข้อมูล ที่เป็นระบบฯ

  18. เราจะก้าวต่อไป.....เพื่อการพัฒนาที่ดีขึ้นในงานธาลัสซีเมีย เพราะว่า....พวกเราชาว สา”สุข ได้ชื่อว่าเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพมากที่สุด...เหนือกว่าบุคลากรของ กระทรวงใดๆ ในประเทศไทย

More Related