1 / 71

บทบาทของเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

บทบาทของเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ). พฤศจิกายน 2555. หัวข้อการนำเสนอ. แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ผ่านมาของไทย สภาพแวดล้อมในการแข่งขันรูปแบบใหม่

laken
Download Presentation

บทบาทของเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทของเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศบทบาทของเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) พฤศจิกายน 2555

  2. หัวข้อการนำเสนอ • แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ผ่านมาของไทย • สภาพแวดล้อมในการแข่งขันรูปแบบใหม่ • กรณีศึกษาการยกระดับเทคโนโลยี (technology upgrading) ในอุตสาหกรรมไทย • ข้อเสนอแนะเพื่อการยกระดับอุตสาหกรรมไทย

  3. 1 แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ผ่านมาของไทย

  4. ยุทธศาสตร์หลักในการพัฒนาอุตสาหกรรมในช่วงเวลาที่ผ่านมายุทธศาสตร์หลักในการพัฒนาอุตสาหกรรมในช่วงเวลาที่ผ่านมา Industrialization without technology Export Low Wage ที่มา: Friedrich Elbert Stiftung (FES)

  5. FDI หลั่งไหลเข้าสู่ประเทศไทยเริ่มจากการผลิตที่ใช้แรงงาน ราคาถูกไปสู่การผลิตที่ใช้เทคโนโลยี พันล้านบาท สัดส่วนต่อการลงทุนทั้งหมด ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มา: ชัยพัฒน์ พูนพัฒน์พิบูลย์ และคณะ. 2552. “แรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย: การส่งออกและทางเลือก.” ธนาคารแห่งประเทศไทย

  6. ภาคอุตสาหกรรมของไทยเติบโตอย่างต่อเนื่องภาคอุตสาหกรรมของไทยเติบโตอย่างต่อเนื่อง Manufacturing อุตสาหกรรมไทยเป็นกำลังหลักในการขับเคลื่อนการเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจของไทยมากว่า 3 ทศวรรษ % Agriculture Transport, storage, and communications Construction ที่มา: NESDB

  7. โดยการส่งออกมีความหลากหลายมากขึ้นและมากกว่าหลายประเทศ ทั้งในแง่ชนิดสินค้าและตลาด* ความหลากหลายของการส่งออกของไทย (%) ความหลากหลายของการส่งออกปี 2554 (%) เปรียบเทียบกับต่างประเทศ • เวียดนามกระจุกตัวในตลาดสหรัฐฯ (20% ของมูลค่าส่งออกทั้งหมด) • รัสเซียกระจุกตัวในสินค้าน้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน (70% ของมูลค่าส่งออกทั้งหมด) * ความหลากหลายของการส่งออก (export diversification) = 100 ( 1 -)

  8. ประเทศไทยเติบโตมาได้เพราะเพิ่มปัจจัยทุนและแรงงาน แต่ productivity ไม่ได้พัฒนามากเท่าใดนัก ที่มา: World Bank 2006 แหล่งที่มาของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ปี 1977 – 2004 Total Factor Productivity มีผลต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจน้อย

  9. การส่งออกสินค้ามูลค่ามหาศาลไม่ได้สร้างมูลค่าเพิ่มการส่งออกสินค้ามูลค่ามหาศาลไม่ได้สร้างมูลค่าเพิ่ม ต่อระบบเศรษฐกิจไทยมากเท่าใดนัก

  10. 2 สภาพแวดล้อมในการแข่งขันรูปแบบใหม่

  11. ยุทธศาสตร์หลักในการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ผ่านมาเผชิญกับสภาพแวดล้อมใหม่ยุทธศาสตร์หลักในการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ผ่านมาเผชิญกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทรัพยากรน้อยลง/ ข้อจำกัดในการปล่อย CO2 :Technology Shift ในบางอุตสาหกรรม Industrialization Without Technology ตลาดเดิมเติบโตช้า ตลาดเกิดใหม่เติบโตเร็วกว่า ค่าแรงไม่สามารถแข่งขันได้กับประเทศเพื่อนบ้าน Export Low Wage การแข่งขันกับประเทศแรงงานราคาถูกในปัจจุบันและอนาคต

  12. ด้านอุปสงค์ เผชิญกับตลาดเดิมที่เติบโตช้าและตลาดประเทศกำลังพัฒนาที่เติบโตเร็วกว่า Annual Growth (%) ที่มา: Economist Intelligent Units

  13. ด้านอุปทาน เผชิญกับการแข่งขันกับจีนในปัจจุบัน และกับอินเดียในอนาคต ในปัจจุบัน การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานราคาถูกเผชิญกับการแข่งขันกับจีน ในอนาคต จะต้องเผชิญกับการแข่งขันกับอินเดียอีก ที่มา: คำนวณจาก WIT Comtrade

  14. ศูนย์กลางเครือข่ายการผลิตในเอเซียเริ่มเปลี่ยนจากญี่ปุ่นมาเป็นจีนศูนย์กลางเครือข่ายการผลิตในเอเซียเริ่มเปลี่ยนจากญี่ปุ่นมาเป็นจีน หมายเหตุ: ลูกศรแสดงถึงสัดส่วนมูลค่าการส่งออกสินค้าขั้นกลาง (Intermediate goods) ต่อมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของประเทศต่างๆ ในปี 1995 และ 2005 ที่มา: Norihiko Yamano, Bo Meng, Kiichiro Fukasaku, 2011. “Fragmentation and Changes in the Asian Trade Network,” ERIA.

  15. ปัญหาทรัพยากรน้อยลงและแรงกดดันในการลด CO2 Emission PEAK OIL CO2 Emission Target ประมาณการเป้าหมายการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากยานยนต์ขนาดเล็ก (LDVs) ของประเทศต่างๆในปี 2030 ภายใต้ Scenario 450 ประมาณการปริมาณการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ปี 2010 -2035 ที่มา: IEA WEO 2010. ที่มา: ดัดแปลงจาก IEA WEO 2008.

  16. ปัญหาทรัพยากรน้อยลงและข้อจำกัดในการปล่อย CO2เริ่มส่งผลต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมยานยนต์ของโลกกำลังเข้าสู่ Technology Shift Conventional Technology Green, Fuel Efficiency Technology Peak Oil Fossil Fuels Alternative Fuels Gasoline ICE Internal Combustion Engines Gasoline More efficient ICE Internal Combustion Engines Diesel Diesel NG NG Biofuel Battery Hybrids Plug-in Hybrids EVs Electric Vehicles Fuel cell Fuel cell vehicles การลด CO2 Emission

  17. การพัฒนายานยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้ามีความก้าวหน้ามากกว่าพลังงานทางเลือกอื่นๆการพัฒนายานยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้ามีความก้าวหน้ามากกว่าพลังงานทางเลือกอื่นๆ ผู้ผลิตรถยนต์เริ่มหันไปพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานไฟฟ้ามากขึ้น เป้าหมายการจำหน่าย EVs + PHEVs ของประเทศต่างๆ รัฐบาลประเทศต่างๆ ตั้งเป้าหมายการจำหน่ายรถยนต์พลังงานไฟฟ้า

  18. การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมเป็นโอกาสการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมเป็นโอกาส Tesla Roadster BYD e6 Proton SAGA EV ผู้ผลิตรายใหม่เข้าสู่อุตสาหกรรมยานยนต์โดยการนำเสนอรถยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าสู่ตลาด ผู้ผลิตรายเดิมขยายขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยเทคโนโลยีพลังงานไฟฟ้า

  19. การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมเป็นความท้าทายการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมเป็นความท้าทาย ผลกระทบต่อห่วงโซ่การผลิตรถยนต์ Raw Material ใหม่ ชิ้นส่วนและส่วนประกอบใหม่ ทำอย่างไรจึงสามารถรักษาฐานะการแข่งขันในอุตสาหกรรมท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีได้?? Green, Fuel Efficiency Technology Conventional Technology Raw Material เดิม ชิ้นส่วนและส่วนประกอบเดิม

  20. ประเทศอาเซียนหลายประเทศมีแรงงานค่าจ้างถูกกว่าแรงงานในไทยประเทศอาเซียนหลายประเทศมีแรงงานค่าจ้างถูกกว่าแรงงานในไทย US$ ที่มา: JETRO. The 19th – 22nd Survey of Investment Related Costs in Asia and Oceania.

  21. ประเทศอาเซียนหลายประเทศมีแรงงานค่าจ้างถูกกว่าแรงงานในไทยประเทศอาเซียนหลายประเทศมีแรงงานค่าจ้างถูกกว่าแรงงานในไทย US$ ที่มา: JETRO. The 19th – 22nd Survey of Investment Related Costs in Asia and Oceania.

  22. ความน่าลงทุนในระยะยาวยังตามหลังกลุ่ม BRICs และประเทศอาเซียนบางประเทศ % Promising countries/regions for Overseas Business over the long-term (next 10 years) Mid term (3 years) views by major industry (2011) Chemicals AutoMobile Rank Country Rank Country 4 3 2 5 3 4 3 5 1 1 2 2 4 3 1 5 3 3 2 1 Thailand Thailand Thailand Thailand Vietnam Brazil Indonesia Vietnam Vietnam Brazil Brazil Brazil India India China India India China China China Electrical Eqp. & Electronics General Machinery Rank Country Rank Country ที่มา: JBIC FY2011 Survey: Outlook for Japanese Foreign Direct Investment (23rd Annual Survey)

  23. เหตุผลสนับสนุนและปัจจัยอุปสรรคในการลงทุนในประเทศไทยเหตุผลสนับสนุนและปัจจัยอุปสรรคในการลงทุนในประเทศไทย จุดแข็ง จุดอ่อน Change over past 5 years Change over past 5 years ที่มา: JBIC FY2011 Survey: Outlook for Japanese Foreign Direct Investment (23rd Annual Survey)

  24. ความสามารถในการแข่งขันด้านต่างๆ ของไทยคงที่และถดถอยลงเมื่อเทียบกับประเทศที่เคยใกล้เคียงกัน Thailand 2012-2013 ที่มา: World Economic Forum: Global Competitiveness Index

  25. อันดับความสามารถในการแข่งขันในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาคงที่ WEF-Global Competitiveness Index: Ranking - Vietnam - India - Indonesia - Thailand - China - Malaysia - Taiwan

  26. 3 กรณีศึกษาการยกระดับเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมไทย

  27. ยกระดับอุตสาหกรรมไทยในสภาพแวดล้อมใหม่ยกระดับอุตสาหกรรมไทยในสภาพแวดล้อมใหม่ ตลาดเดิมเติบโตช้า, Emerging Markets เติบโตเร็วกว่า Technology upgrading การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมจะถูกกดดันด้วยแรงงานราคาถูกไปอีกนาน ทั้งจากจีนและอินเดีย ค่าจ้างแรงงานไทยสูงกว่าประเทศอาเซียนหลายประเทศ บางอุตสาหกรรมกำลังเข้าสู่ Technology Shift utilizing Connectivity Enhancing Labor Productivity

  28. 4.1 การใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยงในภูมิภาค Utilizing Regional Connectivity

  29. ภายใต้ FTA เดิม อัตราภาษี FTA ของสินค้าส่วนใหญ่เป็น 0% แล้ว และมีทางเลือกในการใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นจาก FTA ใหม่ 29

  30. การใช้ประโยชน์จาก FTA ในภาคส่งออกยังทำได้ไม่เต็มที่ ปี 2554 สิทธิประโยชน์จาก FTA รวม 1.1 แสนล้านบาท กรณีใช้สิทธิ์ฯ จาก FTA 100% 2.1 แสนล้านบาท สิทธิประโยชน์ที่ยังไม่ได้ใช้ 1แสนล้านบาท มูลค่าภาษีที่ผู้นำเข้าในประเทศภาคีประหยัดได้ มูลค่าภาษีที่ผู้นำเข้าในประเทศภาคีจะประหยัดได้หากใช้สิทธิ์ FTA 100%

  31. การใช้ประโยชน์จาก FTA ในภาคนำเข้ายังทำได้ไม่เต็มที่ ปี 2554 สิทธิประโยชน์จาก FTA รวม 0.7 แสนล้านบาท กรณีใช้สิทธิ์ฯ จาก FTA 100% 1.2 แสนล้านบาท สิทธิประโยชน์ที่ยังไม่ได้ใช้ 0.5แสนล้านบาท มูลค่าภาษีที่ผู้นำเข้าในไทยประหยัดได้ มูลค่าภาษีที่ผู้นำเข้าในไทยจะประหยัดได้หากใช้สิทธิ์ FTA 100%

  32. ปัญหา/อุปสรรคสำคัญในการเก็บเกี่ยวประโยชน์ด้านภาษีศุลกากรจาก FTA • สินค้าอยู่นอกรายการลดภาษีหรืออยู่ในรายการสินค้าที่มีความอ่อนไหว • ผู้ประกอบการไม่สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลที่สำคัญ เช่น อัตราภาษี ได้ • ผู้ประกอบการขาดความตระหนักถึงประโยชน์ที่ควรจะได้รับ • ผู้ประกอบการขาดความรู้ความเข้าใจ เข้าใจผิด สับสนเกี่ยวกับขั้นตอนการขอใช้ประโยชน์ • กระบวนการขอใช้สิทธิฯ ยุ่งยากและบางครั้งไม่ได้รับการอำนวยความสะดวกเท่าที่ควร • เจ้าหน้าที่มีดุลยพินิจในการตรวจสอบเอกสารแตกต่างกัน บางครั้งถูกปฏิเสธการออกใบ C/O • กระบวนการพิจารณาออกใบ C/O ใช้เวลานาน • ฟอร์ม C/O มีความซับซ้อน/กรอกยาก/ต้องกรอกข้อมูลมากเกินความจำเป็น

  33. แนวโน้มการใช้ประโยชน์จาก AFTA และส่วนแบ่งตลาดในอาเซียนที่เปลี่ยนแปลงในช่วงปี 2548-2554 ส่วนแบ่งตลาดในอาเซียนที่เปลี่ยนแปลง (จุด) อุตสาหกรรมที่ได้รับประโยชน์จาก AFTA ในระดับสูงและมีส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้นชัดเจน 1 1 2 อุตสาหกรรมที่ได้รับประโยชน์จาก AFTAไม่สูงมากนักแต่ยังคงมีส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้น 2 สัดส่วนมูลค่าภาษีที่ประหยัดได้โดยเฉลี่ย (%) 3 อุตสาหกรรมที่ได้รับประโยชน์จาก AFTAไม่สูงมากนักและมีส่วนแบ่งตลาดลดลง 3

  34. การใช้ประโยชน์จากโครงการความร่วมมือภายใต้ FTA และ และกรอบความร่วมมือ (MRA)

  35. การเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานในภูมิภาคการเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานในภูมิภาค PBG MIEC GMS • ร่วมมือในระดับประเทศภายใต้กรอบ GMS, IMT+, BIMP+, PBG, MIEC • ขับเคลื่อนร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศ เช่น ADB ERIA JETRO JICA • สร้างใหม่และปรับปรุง เพื่อรองรับการขนส่งหลายรูปแบบ (multi-modal regional connectivity) • ทางถนน: โครงข่าย ASEAN Highway Network (AHN) • ทางรถไฟ: สายสิงคโปร์-คุนหมิง (SKRL) • ทางเรือ: ท่าเรืออย่างน้อย 47 แห่ง* • ก่อสร้างเสร็จ 63 โครงการ อยู่ระหว่างก่อสร้าง 132 โครงการ แต่ยังมี 132 โครงการ (72%) ยังอยู่ในช่วงออกแบบ/ศึกษาความเป็นไปได้** • ควรศึกษาแนวทางการใช้ประโยชน์จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมระยะ 5 ปีฉบับที่ 12 ของจีนด้วย BIMP+ IMT+ * JICA (2009) Guidelines for assessing port development priorities ** ERIA (2011), Comprehensive Asia Development Plan

  36. แต่ยังมี missing link อีกหลายจุด* missing link ถนน รถไฟ * ASEAN Secretariat (2010) ASEAN Strategic Transport Plan (Brunei Action Plan) 2011-2015

  37. ความตกลงด้านการขนส่งข้ามพรมแดนยังมีความคืบหน้าไม่มากนักความตกลงด้านการขนส่งข้ามพรมแดนยังมีความคืบหน้าไม่มากนัก • ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (CBTA) • รถขนส่งไทยและกัมพูชา เพิ่งจะสามารถเดินทางข้ามพรมแดนผ่านด่านอรัญประเทศ-ปอยเปตได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนถ่ายสินค้า/คน เมื่อเดือน ก.ค.55 • กรอบความตกลงด้านการขนส่งภายในอาเซียน 3 ฉบับ: ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit (AFAFGIT), ASEAN Framework. Agreement on Multimodal Transport (AFAMT) และ ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Inter-State Transport (AFAFIST) • ยังไม่มีผลบังคับใช้ เนื่องจากประเทศภาคียังไม่ให้สัตยาบัน/ไม่ออกกฎหมายรองรับ

  38. การอำนวยความสะดวกในการขนส่งข้ามพรมแดนโดยการตรวจจุดเดียว (SWI) และครั้งเดียว (SSI)* ศุลกากร (customs: C) ศุลกากร (customs: C) ไม่มี SWI และ SSI ตรวจคนเข้าเมือง (immigration: I) ตรวจคนเข้าเมือง (immigration: I) ควบคุมพืช/สัตว์ (quarantine: Q) ควบคุมพืช/สัตว์ (quarantine: Q) มี SWI และ SSI C.I.Q. * single window inspection (SWI) และ single stop inspection (SSI)

  39. การพัฒนา/ปรับปรุงการเชื่อมโยงช่วยลดเวลาในการขนส่งได้อย่างมีนัยสำคัญ ... • การขนส่งทางรถ (74 ชั่วโมง) จากกรุงเทพฯ ถึงฮานอย ใช้เวลาน้อยกว่าทางเรือ (213 ชั่วโมง) • หากมีการใช้ SSI จะใช้เวลา 49 ชั่วโมงครึ่ง ลดลงถึง 33% • หากมีการใช้ SWI และขยาย/ปรับปรุงสภาพถนน จะใช้เวลาลดลงได้อีก ชั่วโมง ที่มา: JETRO, ASEAN logistics network map 2nd edition

  40. อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าไทยกับการใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยงภายในภูมิภาคอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าไทยกับการใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยงภายในภูมิภาค การไม่ยอมรับจากคนในพื้นที่ในการตั้งโรงงานถลุงเหล็ก

  41. อุตสาหกรรมต่อเนื่อง เหล็กขั้นกลาง เหล็กขั้นปลาย เหล็กขั้นต้น การไม่มีโรงเหล็กต้นน้ำในประเทศ ทำให้ผู้ประกอบการส่วนหนึ่งในห่วงโซ่อุปทานมีขีดความสามารถการแข่งขันลดลง Raw Material เหล็กกึ่งสำเร็จรูป เหล็กสำเร็จรูป Missing link อุตสาหกรรมก่อสร้าง (60%) อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ (11%) อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า (9%) อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ (6%) เหล็กแท่งยาว - ผลิตภัณฑ์รูปทรงยาว เหล็กถลุง การรีด /รีดซ้ำ /หล่อ การหลอมเหล็กและหล่อเหล็ก สินแร่เหล็ก การถลุง - ผลิตภัณฑ์รูปทรงแบน เหล็กแท่งแบน เหล็กพรุน - ผลิตภัณฑ์เหล็กโครงสร้างรูปพรรณขนาดใหญ่ เหล็กแท่งใหญ่ เศษเหล็ก - ผลิตภัณฑ์เหล็กหล่อ ควบคุมคุณภาพและต้นทุนได้ยาก ผลิตเหล็กคุณภาพสูงไม่ได้ เหล็กราคาถูกจากจีนแย่งตลาดล่าง เชื่อมต่อกับอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่สำคัญในประเทศได้ยาก

  42. ทางเลือกในการลงทุนอุตสาหกรรมเหล็กขั้นต้นทางเลือกในการลงทุนอุตสาหกรรมเหล็กขั้นต้น โครงสร้างพื้นฐาน ที่ดิน-ที่ตั้ง พื้นที่ใกล้ทะเลขนาด 5-6 พัน ไร่ น้ำจืด ท่าเรือ ไฟฟ้า ระวางน้ำลึกไม่ต่ำกว่า 20 เมตร 1 แสนลูกบาศก์เมตรต่อวัน 300 เมกกะวัตต์ เวียดนาม วัตถุดิบ อ.ดอนสัก จ.สุราษฎร์ฯ แร่เหล็ก 8.5 ลต./ปีจากออสเตรเลียและบราซิล เกาะกง อ.ปะทิว จ.ชุมพร ถ่านหิน 4 ลต./ปีจากออสเตรเลีย ทวาย อ.สิชล จ.นครศรีฯ หินปูน 3 ลต./ปีจากแหล่งผลิตในประเทศ ท่าเรือน้ำลึก จ.ปัตตานี ท่าเรือน้ำลึก

  43. โครงการทวายเป็นทางเลือกที่มีความชัดเจนมากกว่าทางเลือกอื่นๆโครงการทวายเป็นทางเลือกที่มีความชัดเจนมากกว่าทางเลือกอื่นๆ แผนการลงทุนในโครงการทวายมีความเหมาะสมในด้านโครงสร้างพื้นฐานของการตั้งโรงถลุงเหล็ก • ท่าเรือน้ำลึก 2 ท่า • พื้นที่ตั้งโครงการจำนวน 61,775 เอเคอร์ ใหญ่กว่าพื้นที่นิคมทั้งหมดในภาคตะวันออกของไทย • แหล่งน้ำจืดในอ่างเก็บน้ำขนาด 93 ล้านลูกบาตรเมตร • แหล่งไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าถ่านหินขนาด 4,000 เมกกะวัตต์ • สามารถเชื่อมโยงมาเขตอุตสาหกรรมทางภาคตะวันออกของไทยได้ • โรงเหล็กขั้นต้นเป็นหนึ่งในโครงการเป้าหมายของโครงการทวาย แต่ปัจจุบันตัวโครงการทวายเองกำลังเผชิญกับความไม่แน่นอนหลายประการ • ปัญหาการเงิน: ITD ต้องการหาทุนอีกกว่า 3 แสนล้านบาทจากผู้ร่วมทุนโดยเฉพาะจากญี่ปุ่น แต่ปัจจุบันยังไม่คืบหน้า • ปัญหาแหล่งพลังงาน: กระทรวงพลังงานพม่าสั่งระงับโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหิน 4,000 MW ของ ITD และ บมจ.ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ ในโครงการทวาย • โครงการที่เพิ่งดำเนินการเสร็จสิ้นก็คือ ท่าเรือชั่วคราวและเส้นทางชั่วคราวจากโครงการทวาย-บ้านพุน้ำร้อน จ.กาญจนบุรี

  44. ในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม โรงงานที่ใช้แรงงานเข้มข้นมีแนวโน้มลดลง ส่วนหนึ่งมาจากไม่สามารถแข่งขันเรื่องค่าจ้างไม่ได้ ที่มา: สถิติสิ่งทอไทย 2553/2554, สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ; กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  45. ทางเลือกหนึ่งในการอยู่รอดและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันคือการใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยงภายในภูมิภาคทางเลือกหนึ่งในการอยู่รอดและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันคือการใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยงภายในภูมิภาค • มีเขตเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ) จำนวนมากในกัมพูชาและเวียดนามที่อยู่ใกล้แนวถนน/ท่าเรือ • บาง SEZ มีศูนย์อำนวยความสะดวกเบ็ดเสร็จ (OSOS) เรื่องการลงทุน หนังสือรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าไปยุโรป (GSP C/O) วีซ่าของผู้จัดการชาวต่างชาติ คลังสินค้าทัณฑ์บน* • มีบริษัทข้ามชาติไปลงทุนใน SEZ แล้ว เช่น • Eastern Industrial Enterprise Inc. (จีน) • Top Sports Textile ltd. (ไต้หวัน/มาเลเซีย) พนมเปญ บาเว็ต โฮจิมินห์ สีหนุวิลล์ * ที่มา: Ishida (2012). Evaluating prosperity and smoothness of cities and border areas along three economic corridors

  46. 4.2 การยกระดับเทคโนโลยี Technology Upgrading

  47. สถานะของผู้ผลิตในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มสถานะของผู้ผลิตในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม * สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (2554)

  48. ตัวอย่างการยกระดับเทคโนโลยีของบริษัทในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มไทย*ตัวอย่างการยกระดับเทคโนโลยีของบริษัทในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มไทย* • พัฒนานวัตกรรม/เทคโนโลยีเชิงวิจัย • ชุดป้องกันการติดเชื้อที่ใช้นาโนเทคโนโลยี (ม.เชียงใหม่) • เส้นด้ายผสมสมุนไพรที่ทำให้ผู้สวมใส่เย็นสบาย (คัฟเวอร์แนนท์) • ออกแบบสำหรับตลาดขนาดไม่ใหญ่มาก • ผ้ามัดหมี่ชนิดหมี่ซ้อน (บาติก) • ลายผ้าไหมไทย (ห้องเสื้อพิจิตรา) • ผ้าเดนิม (โรงงานทอผ้าเพชรเกษม) • พัฒนานวัตกรรม/เทคโนโลยีเชิงพาณิชย์ • เครื่องนอนกันไรฝุ่นที่ใช้นาโนเทคโนโลยี (ลิตเติลเรย์) • เสื้อผ้ากีฬาที่ใช้คลื่นความถี่ละลายผ้าให้ติดกัน (ฮงเส็งการทอ) • ผ้าไหมไฮเทค (กรีนวิล เทรดดิ้ง) • ออกแบบสำหรับตลาดขนาดใหญ่ • Fly Now • AIIZ • Greyhound • Jaspal • KoiSuwannagate • Thakoon * ดัดแปลงจาก สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (2554)

  49. ปัญหาและแนวทางในการยกระดับเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มปัญหาและแนวทางในการยกระดับเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม • ปัญหาในการยกระดับ • ภาคเอกชนให้ความสำคัญกับการลงทุนด้าน R&D ด้านสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม และการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ (commercialization) ไม่มาก: ปี 2550-2554 มี 2 สิทธิบัตรประดิษฐ์, 47 สิทธิบัตรออกแบบ, 43 อนุสิทธิบัตร • ภาคเอกชนส่วนหนึ่งไม่พร้อมที่จะขยับเป็น ODMs และ OBMs เนื่องจากขาดเงินทุน การทำการตลาด ทักษะการออกแบบ และการบริหารจัดการการผลิต • แนวทางการยกระดับ • การหาพันธมิตรทางธุรกิจตลอดห่วงโซ่การผลิต • ผู้ผลิต 25 รายในอาเซียนร่วมมือกันจัดตั้ง Source ASEAN Full Service Alliance (SAFSA) เพื่อผลิตสินค้าให้กับเจ้าของแบรนด์สินค้าระดับโลก 25 แบรนด์ (เช่น Benetton Group, Guess, MUJI) • บจก. รีโน (ประเทศไทย) เจ้าของแบรนด์ AIIZ ร่วมมือกับ บจก. Padini Holdings Berhad ของมาเลเซีย เจ้าของแบรนด์ Vincci ในการนำสินค้าของอีกฝั่งมาทำตลาดและขายในประเทศของตน • การเรียนรู้กลยุทธ์และเทคนิคในการบริหารจัดการภายในองค์กร การควบคุมการผลิต การตลาด การจัดจำหน่าย จากเจ้าของแบรนด์สินค้าระดับโลก

  50. ระบบสมองกลฝังตัว (embedded system) คืออะไร

More Related