1 / 21

การเขียนบทความทางวิชาการ (๒)

การเขียนบทความทางวิชาการ (๒). วางโครงเรื่อง ( Organise Your Material ). การวางโครงเรื่อง ( Organise Your Material. การวางโครงเรื่องเป็นขั้นตอนสำคัญของการเขียนบทความทุกประเภท รวมทั้งบทความวิชาการและบทความวิจัย การวางโครงเรื่อเป็นกาจัดระบบความคิดของเราให้ชัดเจนก่อนลงมือเขียน.

lael-murray
Download Presentation

การเขียนบทความทางวิชาการ (๒)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนบทความทางวิชาการ (๒)

  2. วางโครงเรื่อง (Organise Your Material)

  3. การวางโครงเรื่อง (Organise Your Material • การวางโครงเรื่องเป็นขั้นตอนสำคัญของการเขียนบทความทุกประเภท รวมทั้งบทความวิชาการและบทความวิจัย • การวางโครงเรื่อเป็นกาจัดระบบความคิดของเราให้ชัดเจนก่อนลงมือเขียน

  4. การวางโครงเรื่อง • บทความที่ดี มาจาการจัดระบบความคิดที่ดี (good organise) ที่มีโครงสร้างสอดคล้องกัน ซึ่งไม่เพียงแต่ช่วยให้เราเขียนได้ง่ายขึ้น แต่ยังช่วยให้คนอ่านเข้าใจเนื้อหาที่เราเขียนมากขึ้น • หลังจากรวบรวมความคิดทั้งหมดแล้ว คือการตัดสินใจว่าจะเรียงลำดับความคิดเหล่านั้นอย่างไร (อะไรมาก่อน มาหลัง) • พยายามทำให้ผู้อ่านรู้ว่าเราจะเปลี่ยนจากประเด็นหนึ่งไปสู่ประเด็นอื่นอย่างไร Organise Your Material

  5. การวางโครงเรื่อง • สิ่งสำคัญในการวางโครงเรื่องก็คือ เราต้องแสดงให้เห็นว่าความคิดหลัก (main ideas) ของเราคืออะไร และมีความมั่นใจว่าสามารถหาหลักฐาน ข้อมูล มาสนับสนุนได้ • การวางโครงเรื่องจะช่วยให้เรามองเห็นภาพของบทความทั้งหมดได้ว่ามีหน้าตาเป็นอย่างไร • การวางโครงเรื่องช่วยให้เราพัฒนาบทความที่เขียนได้ชัดเจนและดีขึ้น • การวางโครงเรื่องเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อการเขียนงานทางวิชาการเป็นอย่างมาก Organise YourMaterial

  6. การวางโครงเรื่องOrganise Your Material • การวางโครงเรื่องในบทความวิชาการและบทวิจัยจะทำในส่วนที่เป็นเนื้อเรื่อง เพราะส่วนอื่นๆ เป็นองค์ประกอบที่กำหนดตายตัวอยู่แล้ว

  7. การวางโครงเรื่อง • ส่วนเนื้อเรื่องของบทความ จะมีจุดประสงค์ของการศึกษา/วิจัย ซึ่งมาจากโจทย์วิจัยที่ผู้เขียนกำหนดไว้ • การวางโครงเรื่องจะเริ่มจากตรงนี้ โครงเรื่อง คือแผนที่ของความคิด

  8. ตัวอย่าง ตัวแบบของการวางโครงเรื่อง

  9. ตัวอย่างการวางโครงเรื่อง บทความ “ โมราฯ หญิงเลวกลางป่าลึกฯ”

  10. กิจกรรมที่ ๒ ฝึกวางโครงเรื่อง • ให้แต่ละกลุ่ม นำหัวข้อหรือประเด็นที่เลือกได้แล้ว มาพัฒนาเป็นโครงเรื่อง ตามแนวทางที่ให้ไว้ โดยให้ครอบคลุมโครงสร้าง ๓ ส่วน คือ บทนำ เนื้อเรื่องและบทสรุป

  11. ๒. การเขียนฉบับร่างDraft Your Article

  12. การเขียนต้นฉบับร่างแรกการเขียนต้นฉบับร่างแรก • การเขียนต้นฉบับร่างแรก เป็นขั้นตอนสำคัญในการเขียนบทความวิชาการ เพราะถือเป็นจุดเริ่มต้นในการเขียนอย่างจริงจัง • มีวิธีการหลายอย่างในการเขียนต้นฉบับร่างแรก • แนวทางที่สำคัญคือเราต้องเตรียมให้พร้อมก่อนลงมือเขียน Writing the First Draft

  13. ขั้นตอนการเขียนต้นฉบับร่างแรกขั้นตอนการเขียนต้นฉบับร่างแรก

  14. การเขียนบทนำ The Introduction

  15. การเขียนบทนำ • เริ่มด้วยประโยคข้อความสำคัญที่น่าสนใจที่โยงกับหัวข้อที่จะเขียน หรืออาจอ้างอิงคำพูดเด่นๆ จากนักวิชาการคนอื่นและเกี่ยวข้องกับหัวข้อของเรา • กล่าวถึงความเป็นมา ความน่าสนใจของหัวข้อของเราโดยสังเขป • เน้นให้เห็นความสำคัญและน่าสนใจของหัวข้อที่เราจะเขียน ๑. สร้างความสนใจให้แก่ผู้อ่านด้วยการ : `

  16. การเขียนบทนำ • ให้ข้อมูลความเป็นมาของหัวข้อ นิยามศัพท์หรือเรื่องที่คิดว่าจำเป็นที่ผู้อ่านต้องเข้าใจ อย่าคิดว่าผู้อ่านรู้มาก่อนแล้ว • ใ้หข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีแหล่งข้อมูลที่จะใช้ในการศึกษา วัตถุประสงค์ตลอดจนวิธีการศึกษาโดยคร่าวๆ • นำเสนอทัศนะของเราที่มีต่อหัวข้อนี้เพื่อโยงไปสู่เนื้อหาต่อไป 2. ให้ข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับหัวข้อ เช้นภูมิหลัง นิยามศัพท์ รวมทั้งจุดมุ่งหมายของบทความ

  17. ตัวอย่างบทนำ • นอกจากมิติทางจิตวิทยาแล้วการฆ่าตัวตายยังมีมิติในเชิงสังคมและวัฒนธรรม ด้วย บทความน้ีเป็นการนําเสนอปรากฏการณ์การฆ่าตัวตายในมุมมองทางสังคมวิทยา อย่างไรก็ตามเราไม่สามารถละเลยท่ีจะพิจารณาปรากฏการณ์น้ีเชื่อมโยงกับบริบททาง ประเพณีวัฒนธรรมของแต่ละสังคมด้วย และเพ่ือให้เกิดความเข้าใจสิ่งที่กระตุ้นให้เกิด การฆ่าตวัตายผเู้ขียนไดน้ําแนวคิดเก่ยีวกับการฆ่าตัวตายของอมีิลเดอรไ์คม์(Emile Durkheim)มาเปน็กรอบในการวเิคราะห์โดยใช้สงัคมอินเดีย,เอสกโิมและเมลานีเซีย เป็นตัวอย่างในการแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการฆ่าตัวตายกับค่านิยม ทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะสังคมเอสกิโมและเมลานีเซียเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึง ปรากฏการณก์ ารฆา่ ตวั ตายของสงั คมดงั้ เดมิ สว่ นผลกระทบของศาสนาตอ่ การฆา่ ตวั ตาย กรณีของโจนส์ทาวน์ (Jonestown) จะเป็นตัวอย่างสําหรับการวิเคราะห์วิจารณ์ใน บทความนี้

More Related