1 / 15

กำเนิดระบบสุริยะ SOLAR SYSTEM

กำเนิดระบบสุริยะ SOLAR SYSTEM. BY MONTREE NANTA SRISAWATWITTAYAKARN SCHOOL NAN. กำเนิดระบบสุริยะ. ดาวเคราะห์ : PLANETS. ดาวเคราะห์วงใน (Interior planets). ดาวเคราะห์วงนอก (Superior planets). ดาวเคราะห์ หิน (Terrestrial planets). ดาวเคราะห์ แก๊ส (Jovian planets).

kyne
Download Presentation

กำเนิดระบบสุริยะ SOLAR SYSTEM

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กำเนิดระบบสุริยะSOLAR SYSTEM BY MONTREE NANTA SRISAWATWITTAYAKARN SCHOOL NAN

  2. กำเนิดระบบสุริยะ

  3. ดาวเคราะห์ : PLANETS ดาวเคราะห์วงใน (Interior planets) ดาวเคราะห์วงนอก (Superior planets) ดาวเคราะห์หิน (Terrestrial planets) ดาวเคราะห์แก๊ส (Jovian planets)

  4. ระบบสุริยะ : SOLAR SYSTEM

  5. ดาวเคราะห์น้อย: Asteroid • ก้อนหินขนาดเล็กที่รวมอยู่ด้วยกันในระบบสุริยะ • อยู่ระหว่างดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี เรียกว่า “แถบดาว • เคราะห์น้อย(Asteroid Belt)” • ดวงที่ใหญ่ที่สุดคือ ดาวเคราะห์น้อยซีเรส(Ceres)

  6. ดาวเคราะห์น้อย: Asteroid • จำแนกได้เป็น 3 ประเภท โดยพิจารณาจากการสะท้อนแสงอาทิตย์ • 1. C-type Asteroid (Cabonaceous Asteroid) • สะท้อนแสงได้น้อยมาก มองดูมืดที่สุด องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นคาร์บอน(ถ่าน) มีจำนวนประมาณ 75%ของเป็นดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด • 2.  S-type Asteroid (Silicaceous Asteroid) • สะท้อนแสงได้ปานกลาง มองดูเป็นสีเทา องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นซิลิกา มีจำนวนประมาณ 15%ของเป็นดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด • 3.  M-type Asteroid (Metaliceous Asteroid) • สะท้อนแสงได้มากที่สุดมองดูสว่าง องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโลหะ มีจำนวนประมาณ 10%ของเป็นดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด

  7. ดาวเคราะห์แคระ • - อยู่ในวงโคจรรอบดาวฤกษ์ • มีมวลพอเพียงที่จะมีแรงโน้ม ถ่วงของตัวเอง (เกือบเป็นทรงกลมสมบูรณ์) • - ไม่สามารถควบคุมแรงดึงดูดและวงโคจรของสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบวงโคจรของมัน

  8. ดาวหาง : Comet • มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ หมู่เมฆของดาวหาง(Oort Cloud) นอกระบบสุริยะ • โคจรเป็นวงรี(Elliptical orbit) เข้ามาในระบบสุริยะ • โดยอาศัยดวงอาทิตย์เป็นจุดโฟกัส

  9. ดาวหาง : Comet ห่างไอออน เมฆไฮโดรเจน ห่างฝุ่น หัว นิวเคลียส

  10. ดาวตก (ผีพุ่งไต้) : Meteor • คือ สะเก็ดดาวจากอวกาศที่พุ่งเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลก • วัตถุที่ตกถึงพื้นดินเรียกว่า “อุกกาบาต”

  11. ดวงอาทิตย์ : SUN • เป็นดาวฤกษ ์ประเภทดาวแคระเหลือง (yellow dwarf) • ชนิดสเปกตัม G • อุณหภูมิผิว ≈ 6000 K • nuclear fusion reactions H 74 % He 25 %

  12. ลมสุริยะ : SOLAR WIND - อนุภาคความเร็วสูงที่ถูกปล่อยมาจากดวงอาทิตย์ทุกทิศทุกทาง ตลอดเวลา - ส่วนใหญ่ประกอบด้วยอิเล็กตรอนและโปรตอน - ความหนาแน่นลมสุริยะบริเวณวงโคจรของโลกมีประมาณ 8 อนุภาค/cm3

  13. พายุสุริยะ : SOLAR STROM กระแสของอนุภาคพลังงาน สูงที่พัดมาจากดวงอาทิตย์ด้วยปริมาณและความเร็วสูงกว่าระดับปกติ - เป็นตัวการทำให้เกิดแสงเหนือใต้ และพายุแม่เหล็ก - ส่งผลต่อดาวเทียม ยานอวกาศ และระบบสายส่งบนโลก

  14. แสงเหนือ-แสงใต้ : aurora เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ที่มีแสงเรืองบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน โดยมักจะขึ้นในบริเวณแถบขั้วโลก - ปรากฏขึ้นในที่ที่มีชั้นบรรยากาศ  สนามแม่เหล็ก และอนุภาคมีประจุจำนวนมาก - อนุภาคเหล่านี้เคลื่อนที่ไปตาม สนามแม่เหล็กโลก และหมุนรอบเส้นนั้นเป็นเกลียวยาว

  15. THANKS

More Related