1 / 54

สิทธิประโยชน์ สำหรับคนพิการ

สิทธิประโยชน์ สำหรับคนพิการ. สิทธิประโยชน์สำหรับคนพิการ. คนพิการ ที่ได้รับการจดทะเบียนคนพิการตาม พ.ร.บ. การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 จะได้รับการสงเคราะห์ตาม พ.ร.บ. ดังนี้

kylee-vang
Download Presentation

สิทธิประโยชน์ สำหรับคนพิการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สิทธิประโยชน์สำหรับคนพิการสิทธิประโยชน์สำหรับคนพิการ

  2. สิทธิประโยชน์สำหรับคนพิการสิทธิประโยชน์สำหรับคนพิการ คนพิการ ที่ได้รับการจดทะเบียนคนพิการตาม พ.ร.บ. การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 จะได้รับการสงเคราะห์ตาม พ.ร.บ. ดังนี้ 1. การสงเคราะห์และฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในสถานสงเคราะห์ 10 แห่งใน 6 จังหวัด คือจังหวัดนนทบุรี ราชบุรี สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ปทุมธานี

  3. สิทธิประโยชน์สำหรับคนพิการ (ต่อ) ศูนย์ฝึกอาชีพ 8 แห่งใน 7 จังหวัด คือจังหวัด สมุทรปราการ ขอนแก่น เชียงใหม่ นครศรีธรรมราช ลพบุรี อุบลราชธานี หนองคาย และศูนย์พัฒนาอาชีพคนพิการ (โรงงานในอารักษ์) 1 แห่ง คือจังหวัดนนทบุรี ใน 10 สาขาวิชาชีพ หลักสูตร3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 10 เดือนและ 1 ปี

  4. 2. การให้การสงเคราะห์กายอุปกรณ์และเครื่องช่วยความพิการ 3. เงินสงเคราะห์ครอบครัว 4. การให้ความช่วยเหลือด้านการฝึกอาชีพแก่คนพิการในชุมชน 5. การจัดหางานให้ทำ 6. การกู้ยืมเงินเพื่อประกอบอาชีพ

  5. ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียวสำหรับคนพิการ 1.กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ สะพานขาว กรุงเทพมหานคร 2.สำนักบริการสวัสดิการสังคม ภายในกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ สะพานขาว กรุงเทพมหานคร โทร. 0-2659-6258 3. สำนักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการกรุงเทพ 1 (ป้อมปราบ) โทร. 0-2223-2391

  6. 4. สำนักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการกรุงเทพ 2 (ดินแดง) โทร. 0-2245-2700 5. สำนักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการกรุงเทพ 3 (คลองเตย) โทร. 0-2249-1972 6. สำนักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการกรุงเทพ 4 (บางขุนเทียน) โทร. 0-2451-1816 7. สำนักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการกรุงเทพ 5 (คลองจั่น) โทร. 0-2374-6710

  7. 8. สำนักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการกรุงเทพ 6 (ห้วยขวาง) โทร. 0-2277-2527 9. สำนักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการกรุงเทพ 7 (ตลิ่งชัน) โทร. 0-2223-2390 10. สำนักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการกรุงเทพ 8 (มีนบุรี) โทร. 0-2540-7722 หรือที่สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ในวันและเวลา

  8. ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียวสำหรับคนพิการ การให้บริการของศูนย์ฯ 1.การบริการข้อมูลและให้คำปรึกษาแนะนำในเรื่องต่าง ๆเช่น สิทธิประโยชน์คนพิการตามกฎหมาย การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของคนพิการ

  9. ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียวสำหรับคนพิการ การให้บริการของศูนย์ฯ (ต่อ) 2.การจดทะเบียนคนพิการ 3.การบริการจัดหางานให้คนพิการ 4.บริการกู้ยืมเงินกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการเพื่อประกอบอาชีพ

  10. 5.การสงเคราะห์และช่วยเหลือคนพิการ เช่น เงินสงเคราะห์ครอบครัวคนพิการ เครื่องอุปโภคบริโภค เงินยังชีพคนพิการ รถเข็นนั่งสำหรับคนพิการ รถสามล้อชนิดโยกสำหรับคนพิการ

  11. 6. การสงเคราะห์และช่วยเหลือราษฎรผู้ได้รับความเดือดร้อนทุกกลุ่มเป้าหมาย อาทิ สงเคราะห์เด็กภายในครอบครัว สงเคราะห์ผู้มีรายได้น้อยและไร้ที่พึ่ง

  12. สิทธิประโยชน์คนพิการที่จะได้รับจากสำนักงานประกันสังคมสิทธิประโยชน์คนพิการที่จะได้รับจากสำนักงานประกันสังคม คนพิการ ในความหมายของสำนักงานประกันสังคมคือผู้ประกันตนทุพพลภาพซึ่งแพทย์สั่งให้เป็นผู้ทุพพลภาพ มี2กรณีดังนี้

  13. สิทธิประโยชน์คนพิการที่จะได้รับจากสำนักงานประกันสังคม(ต่อ)สิทธิประโยชน์คนพิการที่จะได้รับจากสำนักงานประกันสังคม(ต่อ) มี2กรณีดังนี้1. ทุพพลภาพจากการเจ็บป่วย หรือ ประสบอันตราย เนื่องจากการทำงาน(กองทุนเงินทดแทน)2. ทุพพลภาพจากการเจ็บป่วย หรือประสบอันตรายไม่เนื่องจากการทำงาน (กองทุนประกันสังคม)

  14. กรณีทุพพลภาพ กรณีทุพพลภาพเนื่องจากการทำงาน ได้รับค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทน จำนวน  60% ของค่าจ้างรายเดือนในการหยุดพักรักษาตัวและค่าทดแทน  60%  ของค่าจ้างรายเดือน กรณีทุพพลภาพเป็นเวลาไม่เกิน  15 ปีเงินค่าทดแทน 60%  ของค่าจ้างรายเดือนไม่ต่ำกว่า 2,000.-บาทและไม่เกิน 12,000.-บาทต่อเดือน

  15. กรณีทุพพลภาพไม่เนื่องจากการทำงานกรณีทุพพลภาพไม่เนื่องจากการทำงาน -ต้องจ่ายเงินสมทบ ครบ 3 เดือน ภายใน 15 เดือน -รับเงินทดแทนการขาดรายได้เดือนละ 50% ของค่าจ้าง ตลอดชีวิต -รับค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินเดือนละ  2,000  บาท • เบิกค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์(ตามประเภทและอัตราในประกาศ)

  16. หากตาย - จ่ายค่าทำศพ  40,000  บาท แก่ผู้จัดการศพ - จ่ายเงินสงเคราะห์แก่ทายาทเท่ากับ 3 เท่าของเงินทดแทนการขาดรายได้ ถ้าส่งเงินสมทบครบ 36 เดือนขึ้นไปก่อนทุพพลภาพเท่ากับสิบเท่าของเงินทดแทนการขาดรายได้ ถ้าส่งเงินสมทบครบ 10 ปี ขึ้นไปก่อนทุพพลภาพ

  17. เอกสารที่ใช้ -แบบ สปส. 2-01/3- ใบรับรองแพทย์ระบุการทุพพลภาพ- ประวัติการรักษาจาก รพ.ทุกแห่ง- แผนที่บ้าน- ได้รับการตรวจร่างกายโดยแพทย์ผู้ขึ้นทะเบียน

  18. เอกสารที่ใช้ (ต่อ) • บัตรประชาชน, บัตรรับรองสิทธิ, บัตรประกันสังคม - สำเนาสมุดเงินฝากธนาคารหน้าแรกซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชี (กรณีขอรับเงินทางธนาคาร) - ยื่นเรื่องภายใน  1  ปี นับแต่วันที่มีสิทธิ

  19. การขึ้นทะเบียนคนพิการการขึ้นทะเบียนคนพิการ ตามพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 และกฎระทรวงอื่นๆ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติ ได้กำหนดประเภทคนพิการ และกำหนดให้คนพิการได้รับการคุ้มครอง สงเคราะห์ ฟื้นฟูสมรรถภาพ และพัฒนา ด้วยวิธีทางการแพทย์ การศึกษา อาชีพ และสังคม

  20. การขึ้นทะเบียนคนพิการ (ต่อ) สาระสำคัญของพระราชบัญญัตินี้มีความมุ่งหมายที่จะให้คนพิการ ได้รับการพัฒนาให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าทั้งทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ การฟื้นฟูสมรรถภาพครอบคลุมคนพิการทุกประเภทความพิการโดยทั่วถึงทุกชุมชน

  21. การขึ้นทะเบียนคนพิการ (ต่อ) และกำหนดขอบข่ายการบริการให้สอดคล้องรองรับกับสิทธิประโยชน์ และบริการที่รัฐหรือส่งเสริมให้ภาคเอกชนจัดให้คนพิการตามกฎมาย

  22. มาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ กำหนดให้คนพิการที่ประสงค์จะได้รับสิทธิในการสงเคราะห์ ฟื้นฟูสมรรถภาพ และพัฒนารวมทั้งสิทธิประโยชน์อื่นๆ ที่คนพิการพึ่งได้รับตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ยื่นขอการจดทะเบียนคนพิการตามระเบียบคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ว่าด้วยการจดทะเบียนคนพิการ พ.ศ. 2537 

  23. สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับจากการขึ้นทะเบียนผู้พิการสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับจากการขึ้นทะเบียนผู้พิการ ด้านการแพทย์ คนพิการมีสิทธิได้รับการรักษา พยาบาล บำบัด และฟื้นฟูสมรรถภาพเพื่อแก้ไข หรือปรับสภาพความพิการ กายอุปกรณ์ และเครื่องช่วยคนพิการ เช่น เก้าอี้เข็น ไม้ค้ำยัน เครื่องช่วยเดิน และแขน - ขาเทียม เป็นต้น

  24. สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับจากการขึ้นทะเบียนผู้พิการ (ต่อ) ด้านการแพทย์ (ต่อ) รวมทั้งคำแนะนำปรึกษาจากแพทย์ และบุคลากรทางการแพทย์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย จากสถานพยาบาลของรัฐ เช่น สถานีอนามัย โรงพยาบาลประจำอำเภอ โรงพยาบาลประจำจังหวัด และโรงพยาบาลจิตเวช เป็นต้น

  25. ด้านการศึกษา คนพิการมีสิทธิเข้าเรียนในสถานศึกษาของรัฐทั่วประเทศ ทั้งในระบบโรงเรียน และระบบการศึกษานอกโรงเรียน ซึ่งให้บริการฝึกอาชีพพื้นฐานสำหรับคนพิการด้วย

  26. ด้านสังคม - คนพิการมีสิทธิขอรับบริการต่างๆ ได้จากกรมประชาสงเคราะห์ หรือสำนักงานประชาสงเคราะห์จังหวัด ดังต่อไปนี้ - คนพิการที่ประสบความทุกข์ยากเดือดร้อนมีสิทธิได้รับบริการช่วยเหลือ และสงเคราะห์ รวมทั้งคำแนะนำปรึกษาตามความเหมาะสม

  27. ด้านสังคม (ต่อ) - คนพิการที่มีความพิการรุนแรง และไม่สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองได้ มีสิทธิขอรับเงินเบี้ยยังชีพคนละ 500 บาทต่อเดือน - คนพิการที่ไม่มีผู้อุปการะเลี้ยงดู และไม่มีที่อยู่อาศัย มีสิทธิขอรับบริการเลี้ยงดูในสถานสงเคราะห์ของกรมประชาสงเคราะห์ได้

  28. ด้านสังคม (ต่อ) - คนพิการที่ไม่สามารถขอรับกายอุปกรณ์ หรือเครื่องช่วยคนพิการบางประเภทได้จากสถานพยาบาลของรัฐ มีสิทธิขอรับได้จากกรมประชาสงเคราะห์ และสำนักงานประชาสงเคราะห์จังหวัด เช่น รถสามล้อชนิดมือโยก และเก้าอี้เข็นสำหรับเล่นกีฬา เป็นต้น

  29. ด้านอาชีพ คนพิการมีสิทธิได้รับบริการฝึกประกอบอาชีพ จัดหางาน ประสานงานส่งต่อเข้าทำงานในสถานประกอบการต่างๆ และให้คำปรึกษาแนะนำ จากหน่วยงานของกระทรวงแรงงาน และสวัสดิการสังคมที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมการจัดหางาน และศูนย์ฟื้นฟูอาชีพคนพิการของกรมประชาสงเคราะห์

  30. ด้านอาชีพ (ต่อ) ซึ่งติดต่อได้ที่สำนักงานประชาสงเคราะห์จังหวัด นอกจากนั้น คนพิการมีสิทธิขอกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพอิสระจากกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ สำนักงานคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ กรมประชาสงเคราะห์ หรือสำนักงานประชาสงเคราะห์จังหวัดได้ไม่เกินคนละ 20,000 บาท โดยไม่ต้องเสียดอกเบี้ย และผ่อนใช้คืนภายในระยะเวลา 5 ปี

  31. การจดทะเบียนคนพิการ คนพิการที่ประสงค์จะจดทะเบียนคนพิการ เพื่อนำ “ สมุดประจำตัวคนพิการ ” ไปขอรับสิทธิประโยชน์ต่างๆ ตาม พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 ต้องดำเนินการ ดังนี้

  32. สถานที่จดทะเบียน • - สำนักงานคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ กรมประชาสงเคราะห์ ถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 628 2518 - 9 • สำนักงานประชาสงเคราะห์จังหวัดที่ศาลากลางจังหวัด ซึ่งเป็นภูมิลำเนา หรือจังหวัดที่คนพิการอาศัยอยู่

  33. เอกสารที่ใช้ในการจดทะเบียนเอกสารที่ใช้ในการจดทะเบียน เอกสารที่คนพิการต้องนำไปยื่นที่สถานที่จดทะเบียน ได้แก่ 1. เอกสารรับรองความพิการ ขอได้จากสถานพยาบาลของรัฐ เช่น สถานีอนามัย โรงพยาบาลประจำอำเภอ โรงพยาบาลประจำจังหวัด และโรงพยาบาลจิตเวช เป็นต้น

  34. เอกสารที่ใช้ในการจดทะเบียน (ต่อ) 2. ต้นฉบับ และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรประจำตัวข้าราชการ หรือบัตรประจำตัวต่างด้าว หรือเอกสารอื่นที่ราชการออกให้ ในกรณีเป็นเด็กที่ยังไม่มีบัตรประจำตัว ให้ใช้ใบสูติบัตรแทนต้นฉบับ และสำเนาทะเบียนบ้าน 1 ใบ 3. รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว จำนวน 2 รูป

  35. การจดทะเบียนแทน คำสั่งศาลในกรณีที่ศาลสั่งให้คนพิการเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ หรือไร้ความสามารถ คำสั่งศาลเรื่องการจัดตั้งผู้ปกครองคนพิการ ในกรณีที่คนพิการไม่มีบิดามารดา หรือบิดามารดาถูกถอนอำนาจปกครองคนพิการ

  36. การจดทะเบียนแทน (ต่อ) ถ้าคนพิการไม่สามารถไปจดทะเบียนด้วยตนเอง ให้มอบผู้อื่นไปจดทะเบียนแทน โดยผู้จดทะเบียนแทน ต้องนำเอกสารต่อไปนี้ไปสถานที่จดทะเบียน

  37. เอกสารสำหรับจดทะเบียนของคนพิการเอกสารสำหรับจดทะเบียนของคนพิการ - เอกสารของผู้จดทะเบียนแทน ได้แก่ ต้นฉบับ และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรประจำตัวข้าราชการ หรือบัตรประจำตัวต่างด้าว หรือเอกสารอื่นที่ราชการออกให้

  38. เอกสารสำหรับจดทะเบียนของคนพิการ (ต่อ) - ต้นฉบับ และสำเนาทะเบียนบ้าน 1 ใบ - ใบมอบอำนาจจากคนพิการ หรือหนังสือรับรองจากทางราชการ ซึ่งขอได้จากผู้ใหญ่บ้าน กำนัน และนายอำเภอ เป็นต้น

  39. สมุดประจำตัวคนพิการ - คนพิการที่จดทะเบียนแล้ว จะได้รับสมุดประจำตัวคนพิการ ซึ่งต้องนำไปแสดงเพื่อขอรับสิทธิประโยชน์ต่างๆ

  40. สมุดประจำตัวคนพิการ (ต่อ) - อนึ่งสมุดประจำตัวคนพิการมีอายุ 5 ปี เมื่อหมดกำหนดต้องไปจดทะเบียนใหม่ ถ้าสมุดประจำตัวคนพิการสูญหาย ให้แจ้งความที่สถานีตำรวจ และนำใบแจ้งความไปขอยื่นจดทะเบียนใหม่

  41. ตัวอย่างสมุดประจำตัวคนพิการตัวอย่างสมุดประจำตัวคนพิการ

  42. การต่ออายุสมุดประจำตัวคนพิการการต่ออายุสมุดประจำตัวคนพิการ เมื่อสมุดประจำตัวคนพิการหมดอายุ คนพิการจะต้องดำเนินการต่ออายุสมุดประจำตัวคนพิการ

  43. หลักฐานการต่ออายุสมุดประจำตัวคนพิการหลักฐานการต่ออายุสมุดประจำตัวคนพิการ • สมุดประจำตัวคนพิการเล่มเดิมที่หมดอายุ • สำเนาทะเบียนบ้าน มาขอรับบริการต่อสมุด

  44. ขั้นตอนการต่ออายุสมุดประจำตัวคนพิการการต่ออายุสมุดประจำตัวคนพิการขั้นตอนการต่ออายุสมุดประจำตัวคนพิการการต่ออายุสมุดประจำตัวคนพิการ • ให้คนพิการนำสมุดประจำตัวคนพิการที่หมดอายุ พร้อมสำเนาทะเบียนบ้านมาขอรับบริการต่อสมุดประจำตัวคนพิการกับเจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐานจากทะเบียนคนพิการของจังหวัดจากนั้นเจ้าหน้าที่จะดำเนินการต่ออายุสมุดประจำตัวคนพิการในสมุดเล่มเดิม

  45. โดยไม่ต้องใช้เอกสารรับรองความพิการฉบับใหม่ยกเว้น สภาพความพิการเปลี่ยนแปลงไปให้คนพิการไปขอรับเอกสารรับรองความพิการฉบับใหม่เพื่อใช้ต่ออายุสมุดประจำตัวคนพิการสมุดประจำตัวคนพิการจะมีอายุ 5 ปี นับจากวันออกสมุด

  46. ตัวอย่างการต่ออายุสมุดประจำตัวคนพิการตัวอย่างการต่ออายุสมุดประจำตัวคนพิการ

  47. เงินทุนหมุนเวียนให้คนพิการกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนให้คนพิการกู้ยืม หลักเกณฑ์การให้กู้ยืม ให้คนพิการกู้ยืมเงินเพื่อประกอบอาชีพอิสระรายละไม่เกิน 20,000 บาท กำหนดส่งใช้ภายในเวลาไม่เกิน 5 ปี โดยไม่เสียดอกเบี้ย

  48. คุณสมบัติของผู้กู้ยืมคุณสมบัติของผู้กู้ยืม 1.เป็นคนพิการที่จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 2.อายุไม่ต่ำกว่า 15 ปี กรณีที่ผู้กู้อายุไม่ถึง 20 ปี จะต้องมีหนังสือยินยอมจากผู้ปกครอง 3.ได้รับการฝึกอาชีพแล้ว หรือมีความสามารถประกอบอาชีพได้

  49. คุณสมบัติของผู้กู้ยืม (ต่อ) 4.มีความขยันขันแข็งในการประกอบอาชีพและประพฤติตนเรียบร้อย 5.สามารถชำระหนี้ได้จากการประกอบอาชีพ 6. ไม่มีหนี้ค้างชำระจากเงินทุนนี้ หรือเงินอื่น ๆ ที่สืบทราบได้ว่าจะเป็นผลกระทบต่อการชำระหนี้ได้กับกองทุนฯ เว้นแต่คณะอนุกรรมการเห็นเป็นอย่างอื่น 7.มีภูมิลำเนา หรือถิ่นที่อยู่ในจังหวัดที่ขอกู้

  50. เอกสารที่ต้องนำมายื่นคำร้องขอกู้ยืมเอกสารที่ต้องนำมายื่นคำร้องขอกู้ยืม 1.สมุดประจำตัวคนพิการ (พร้อมสำเนา) 2.สำเนาเอกสารหลักฐานการศึกษา หรือประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรผ่านการฝึกอบรมวิชาชีพ พร้อมฉบับจริง (ถ้ามี) 3.สำเนาทะเบียนบ้าน (พร้อมฉบับจริง) 4.รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว จำนวน 1 รูป (กรณีที่พิการทางด้านร่างกายให้ใช้รูปถ่ายเต็มตัว)

More Related