1 / 42

Knowledge Management for PEA

Knowledge Management for PEA. College of Arts, Media and Technology 29 June 2007. วัตถุประสงค์ของโครงการ. เพื่อสร้างกระบวนการบริหารจัดการความรู้ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ในการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

kyle
Download Presentation

Knowledge Management for PEA

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Knowledge Management for PEA College of Arts, Media and Technology 29 June 2007

  2. วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ • เพื่อสร้างกระบวนการบริหารจัดการความรู้ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ในการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค • เพื่อพัฒนาบุคลากรส่วนหนึ่งของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคให้มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับทั้งการจัดการความรู้ การเป็นวิศวกรจัดการความรู้ (Knowledge Engineers) เพื่อรองรับการสร้างระบบบริหารจัดการความรู้ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคในอนาคต • เพื่อให้ผู้บริหารการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเกิดความเข้าใจและเห็นภาพร่วมกันอย่างชัดเจนเกี่ยวกับกระบวนการระบบบริหารจัดการความรู้ในทางปฏิบัติจริง พร้อมให้การสนับสนุน • เพื่อให้พนักงานในการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเกิดความเข้าใจและสามารถดำเนินการตามกรอบการปฏิบัติของการจัดการความรู้ได้ • เพื่อให้เกิดการขยายผลนำกระบวนการบริหารจัดการความรู้ นำไปใช้ในการจัดการความรู้ ในแต่ละสายงานและทุกหน่วยธุรกิจของ กฟภ.

  3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • เกิดคณะทำงานวิศวกรรมการจัดการความรู้ (Knowledge Engineers) ของกฟภ. มีความรู้ และมีประสบการณ์จริงในการจัดทำระบบจัดการความรู้ • การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีระบบจัดการความรู้นำร่อง ที่สามารถนำมาใช้ในการทำงาน เพื่อแก้ปัญหา และสนับสนุนการตัดสินใจ • คณะผู้บริหารการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสามารถใช้ระบบการจัดการความรู้และผลผลิตที่ได้จากโครงการนำร่อง อาทิ Knowledge Mapsและ Knowledge Modelพร้อมทั้ง ระบบเอกสารอ้างอิง (Repository Knowledge)เพื่อใช้ในกระบวนการทำงานที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เพื่อการแก้ปัญหา และการตัดสินใจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดทำ KM แต่ละสายงาน และหน่วยธุรกิจอื่นต่อไป • พนักงานทุกระดับของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสามารถใช้ระบบการจัดการความรู้และผลผลิตที่ได้จากโครงการนำร่อง อาทิ Knowledge Mapsและ Knowledge Modelพร้อมทั้ง ระบบเอกสารอ้างอิง (Repository Knowledge)เพื่อใช้ในกระบวนการทำงานที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เพื่อการแก้ปัญหา และการตัดสินใจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดทำ KM แต่ละสายงาน และหน่วยธุรกิจอื่นต่อไป

  4. กรอบการดำเนินงาน

  5. ตัวอย่างกรอบการดำเนินงานตัวอย่างกรอบการดำเนินงาน • การสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่อง KM ให้กับบุคลากร • การจัดทำ Pre-Audit เป็นแบบสอบถามความคิดเห็น เพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกหัวข้อเรื่องที่จะนำมาดำเนินการเป็นโครงการนำร่องของผู้บริหาร • จัดอบรมสัมมนาให้กับผู้บริหารระดับสูง เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญ (Awareness) ของการจัดการความรู้ และให้ผู้บริหารระดับสูงสรุปวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ของ KM และทำการเลือกหัวข้อความรู้ที่จะนำมาดำเนินการในโครงการนำร่อง (Knowledge Audit) โดยเลือกความรู้ที่มีความสำคัญต่อภารกิจ (Strategic Knowledge) • จัดอบรมสัมมนาให้กับ ผู้บริหารระดับกลาง เพื่อทำให้ตระหนักถึงความสำคัญและเห็นถึงประโยชน์ของการจัดการความรู้ และสร้างความเข้าใจร่วมกับผู้เข้ารับการอบรมถึงหัวข้อความรู้ที่ได้มีการเลือกจากผู้บริหารระดับสูงเพื่อมาดำเนินการในโครงการนำร่อง • จัดให้มีการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวนการจัดการความรู้ รวมทั้งพัฒนาบุคลากรส่วนหนึ่งของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคให้สามารถเป็นกลไกสนับสนุนกระบวนการบริหารจัดการความรู้ในระดับของคณะทำงานวิศวกรจัดการความรู้ (Knowledge Engineers)

  6. สร้างกระบวนการจับความรู้(Knowledge Capture)การวิเคราะห์ความรู้(Knowledge Analysis)และการสังเคราะห์ความรู้โดยสร้างKnowledge Mappingร่วมกันเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการจัดความรู้และนำไปสู่กระบวนการใช้ความรู้เพื่อแก้ปัญหาหรือในการสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร • สร้างระบบจัดการความรู้(Knowledge ManagementSystem)โดยใช้Microsoft Share Pointsเพื่อเป็นศูนย์กลางสำหรับการปันและเผยแพร่ความรู้ในกลุ่มนักปฏิบัติ CoP (Community of Practice)ซึ่งประกอบด้วยreader contributor/expert system-administratorและknowledge-engineer • จัดทำประมวลปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการฯและสรุปปัจจัยแห่งความสำเร็จการจัดการความรู้(Key Success Factor)เพื่อการขยายผลสู่ทุกสายงานอื่นต่อไปตลอดจนแนะนำโครงสร้างของหน่วยงานด้านKMที่เหมาะสมในอนาคต

  7. PEA Knowledge Audit College of Arts, Media and Technology 10 November 2006

  8. Visionและ Missionขององค์กร • Vision/Mission • กฟภ. เป็นองค์กรชั้นนำในภูมิภาคอาเชียนด้านธุรกิจการให้บริการพลังงานไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย เชื่อถือได้ สร้างความพึงพอใจสูงสุด แก่ลูกค้าทั่วประเทศ” • Threat ? • คู่แข่ง และ Distributed Generation(DG) • ลูกค้าต้องการประสิทธิภาพสูงขึ้น Qualityที่สูงขึ้น • นโยบายของรัฐบาล สนับสนุนให้มีการแข่งขัน ทำให้เกิด Retailers • โครงสร้างของอุตสาหกรรมไฟฟ้าในอนาคต • รัฐบาล ไม่ค้ำประกันเงินกู้ ไม่สามารถลงทุนเพื่อตอบสนองกับDemandที่เพิ่งขึ้น • โครงสร้างของค่าไฟฟ้ายังไม่เหมาะสม • Networkที่ไม่เหมาะสมกับการกระจายของลูกค้า • Strategy ? • Spin offบางกิจกรรมที่แข่งกันในตลาดได้ เช่น ธุรกิจวิศวกรรมก่อสร้าง DG (Potential) • Increase Quality of Supply and Services (Core Business) • เน้นการใช้ New Technologyมาเพิ่มประสิทธิภาพ • Key Drivers ? • Improve Quality of Supply and Services • reliability • networks • SAP • DMS/EMS/SCADA • KM/LO ?

  9. ผลจากแบบสอบถาม *** หมายเหตุ: ดูแบบสอบถามจาก MS Word

  10. กิจกรรมจัดการความรู้ในองค์กรกิจกรรมจัดการความรู้ในองค์กร • การสัมมนาระดมความคิดประสบการณ์ • การฝึกอบรม • การจัดทำสื่อการเรียนรู้Web Site ต่างๆ • การประชุม • การไปดูงาน • Web board • การสร้างคู่มือประกอบการทำงาน • การสร้างกฎระเบียบในการปฎิบัติงาน • การรับทราบหนังสือเวียนและระบบสารบรรณ • การใช้Intranet • การประสานงาน • การจัดทำระบบISO, QC และการบรรยายความรู้

  11. ปัญหาในการดำเนินธุรกิจที่ต้องใช้ความรู้ประสบการณ์พิเศษปัญหาในการดำเนินธุรกิจที่ต้องใช้ความรู้ประสบการณ์พิเศษ • ขาดบุคลากรผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน • ขาดเครื่องมือ เครื่องจักรกลที่ทันสมัย • วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง • การสื่อสารโทรคมนาคม และ เทคโนโลยีสารสนเทศ • ด้านการวิเคราะห์ตลาดและกลยุทธ์ต่างๆที่จะนำมาบูรณาการ • ด้านคุณภาพระบบไฟฟ้า • ด้านการเงินและเศรษฐศาสตร์ • การจัดการทรัพยากรมนุษย์ • การจัดการบริหารพัสดุ • การบริหารการผลิต • ขาดการพัฒนาให้ทันสมัย • ความเชี่ยวชาญทางด้านธุรกิจไม่ทันกับความก้าวหน้าของภาคเอกชน • การประสานงาน • ความรู้ด้านตลาดเงิน ตลาดทุน • ไม่มีการเก็บรวบรวมความรู้และการเข้าถึงความรู้ได้ยาก • ความรู้ด้านระบบ Hydraulic Neumatic Electrictronic Control • การวางกลยุทธแบบ EVA • ระบบ Logistic and Supply Chain Management • การป้องกันระบบไฟฟ้า • กฎระเบียบที่มากมาย

  12. ความรู้วิกฤติที่มีผลต่อความสำเร็จขององค์กรในอีก 5 ปีข้างหน้า • Information Technology • วิศวกรรมการสื่อสาร • ความรู้ของคู่แข่งขัน • การพิจารณาทำ Software สำเร็จรูปมาใช้งาน • ความรู้ด้านการจัดการผลิต • การตัดสินใจที่ยึดลูกค้ามากกว่ากฎระเบียบ • ความรู้ทางด้านการตลาดและการแข่งขัน • การบริหารองค์กร • การแก้ปัญหาร่วมกันและกลมเกลียวกัน • การพัฒนาองค์กรให้คิดนอกกรอบ • ความรู้ด้านคุณภาพไฟฟ้า • ความรู้ด้านการบริหารเครือข่าย • การพัฒนาธุรกิจใหม่ • การบริหารการเปลี่ยนแปลง • ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ • ความรู้ด้านการเงิน การคลัง • ความรู้ด้านการวางแผนระบบไฟฟ้า

  13. ความรู้ในองค์กรที่ ลูกค้า ผู้สนับสนุนงบประมาณหรือผู้ลงทุนคาดหวังสูง • ความรู้ด้านการบริการที่รวดเร็วและมีคุณภาพ • วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง • วิศวกรรมสื่อสาร • ด้านคุณภาพระบบไฟฟ้า • ความรู้ด้านวิศวกรรม • Project Management • การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กร • การพัฒนาทางด้านธุรกิจและการตลาด • ความรู้ทางด้านการเงินที่มีความถูกต้องและแม่นยำ • ความรู้ด้านการลงทุนในตราสารการเงินประเภทต่างๆ • ความรู้ด้านสาธารณสุข สุขภาพอนามัย • การบริหารงบประมาณ และ ต้นทุน • การบริการจัดหาพลังไฟฟ้าที่เพียงพอ • การพัฒนาคุณภาพการบริการและความมั่นคงในระบบจำหน่าย • การประสานงานกับประชาชนและหน่วยงานรัฐบาลในท้องถิ่น • ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธา • ด้านเศรษฐกิจการคลัง • การพัฒนาระบบผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า • การพัฒนาอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบไฟฟ้า

  14. Critical Tasksของ PEA • การพัฒนาคุณภาพไฟฟ้า • การวางแผนระบบไฟฟ้า • การบริการที่รวดเร็วและมีคุณภาพ • การจัดหาพลังไฟฟ้าที่เพียงพอ • การพัฒนาคุณภาพการบริการและความมั่นคงในระบบจำหน่าย • การประสานงานกับลูกค้า ประชาชน และ หน่วยงานรัฐบาลในท้องถิ่น • การพัฒนาระบบผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า • การบำรุงรักษาอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบไฟฟ้า • การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และ โทรคมนาคม เช่น การพัฒนา Software สำเร็จรูปมาใช้เองภายในองค์กร • การป้องกันระบบไฟฟ้า • การบริหารเครือข่าย • การพัฒนาธุรกิจใหม่เสริมสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กร • การวิเคราะห์ตลาดและกลยุทธ์ต่างๆ เช่น การวางกลยุทธ์แบบ EVA • Logistic and Supply Chain Management • การบริหารองค์กร และ การเปลี่ยนแปลงภายในองค์กร • การบริหารงบประมาณ การเงิน ต้นทุน และ เศรษฐกิจการคลัง • การลงทุนในตราสารการเงินประเภทต่างๆ • การบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ (Project Management) • การบริหารพัสดุ • การจัดการทรัพยากรมนุษย์ • การพัฒนาความรู้ด้านวิศวกรรม ไฟฟ้าแรงสูงและวิศวกรรมโยธา

  15. หัวข้อความรู้สำหรับโครงการนำร่องหัวข้อความรู้สำหรับโครงการนำร่อง • หัวข้อความรู้ 1: การบำรุงรักษาระบบและอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบไฟฟ้า • หัวข้อความรู้ 2: การพัฒนาคุณภาพไฟฟ้า • หัวข้อความรู้ 3: การดำเนินงานด้านมิเตอร์ *** หมายเหตุ: ดูผลการทำ Pre-Knowledge Auditจาก MS Excel

  16. PEA Knowledge Management Overview College of Arts, Media and Technology 16 November 2006

  17. จัดอบรมผู้บริหารระดับผู้อำนวยการฝ่าย และผู้อำนวยการกอง • เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการความรู้ • เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการความรู้ • เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันกับผู้เข้ารับการอบรมถึงหัวข้อความรู้ที่ได้มีการคัดเลือกจากผู้บริหารระดับสูง • เพื่อนำเสนอหัวข้อความรู้ 3 หัวข้อความรู้ สำหรับโครงการนำร่อง

  18. Knowledge Engineering Training College of Arts, Media and Technology 8, 9, 10 and 15 January 2007

  19. KE Training Outlines • Day 1 • Knowledge Management Overviewการบริหารจัดการความรู้เบื้องต้น • Case Study and Demonstrationตัวอย่างภายใน กฟผ. และที่อื่นๆ • Introduction to Knowledge Engineering วิศวกรรมความรู้เบื้องต้น • CommonKADS: Knowledge Analysis and Data Structuring • เตรียมหัวข้อความรู้สำหรับวันถัดมา • Day 2 • ทดลองเฝ้าสังเกตพฤติกรรมการคิด Task, Inference, Domain, Knowledge Base and Ontology • ทดลองวิเคราะห์ความรู้จากเอกสาร • Day 3 • ทดลองจับความรู้เกี่ยวกับการทำงานด้วยโครงสร้างแบบง่าย Input, Process, Output and Knowledge Base • Day 4 • ทดลองสร้างวาระสัมภาษณ์ Agenda

  20. PEA Knowledge Society

  21. Knowledge Capture 1 College of Arts, Media and Technology January 2007

  22. Knowledge Capture 1 • Scoping Meetingสัมภาษณ์เพื่อกำหนดขอบเขตกับผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง • “การบำรุงรักษาสถานีไฟฟ้า” • Corrective Maintenance/Preventive Maintenance • Circuit Breaker/Protective Relay • Knowledge Capture Meetingสัมภาษณ์เพื่อจับความรู้ ประสบการณ์ผู้เชี่ยวชาญ • Case Study Meetingสัมภาษณ์เพื่อจับกรณีศึกษาและตรวจสอบความเพียงพอของความรู้ • Validation Meetingสัมภาษณ์เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง *** หมายเหตุ: สามารถดูผลจากการสัมภาษณ์ได้จาก MS Word

  23. รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ หัวข้อความรู้ที่ 1 • Circuit Breaker • คุณ เจิดสิทธิ์ หิรัญ • คุณ ปกรณ์ วรานุสันติกูล • Protective Relay • คุณ กระแส ลัภนะยศ • คุณ นรินทร์ พงษ์ประพันธ์ • คุณ ทวีโชค เพชรเกษม

  24. K1 Knowledge Map

  25. Knowledge Capture 2 College of Arts, Media and Technology March 2007

  26. Knowledge Capture 2 • Scoping Meetingสัมภาษณ์เพื่อกำหนดขอบเขตกับผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง • “การตรวจสอบการละเมิดมิเตอร์” • Knowledge Capture Meetingสัมภาษณ์เพื่อจับความรู้ ประสบการณ์ผู้เชี่ยวชาญ • Case Study Meetingสัมภาษณ์เพื่อจับกรณีศึกษาและตรวจสอบความเพียงพอของความรู้ • Validation Meetingสัมภาษณ์เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง

  27. K2 Knowledge Map

  28. Knowledge Capture 3 College of Arts, Media and Technology April 2007

  29. Knowledge Capture 3 • Scoping Meetingสัมภาษณ์เพื่อกำหนดขอบเขตกับผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง • “การวินิจฉัยปัญหาคุณภาพไฟฟ้า” • Knowledge Capture Meetingสัมภาษณ์เพื่อจับความรู้ ประสบการณ์ผู้เชี่ยวชาญ • Case Study Meetingสัมภาษณ์เพื่อจับกรณีศึกษาและตรวจสอบความเพียงพอของความรู้ • Validation Meetingสัมภาษณ์เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง

  30. K3 Knowledge Map

  31. Knowledge Management System College of Arts, Media and Technology February/March 2007

  32. กลุ่ม Functionsของ Shared Pointที่นำมาใช้KM • Users & Security • Community • MySite • Public • Private

  33. User Roles and Responsibilities • KMS Administrator -> Administrator • Manager Experts -> Contributor • Knowledge Engineer -> Content Manager • Knowledge Workers -> Reader

  34. Taxonomy Levels • Level 0 -> PEA = All CoP • Level 1 -> CoP • Level 2 -> Task • Level 3 -> Inference

  35. Design Criteria • Knowledge • Information for Actions • The Whole Body of Data Information for Actions • Top Down Design • Top -> Bottom and Left -> Right • Often / Critical / Management

  36. Area • Top for Decision • K-Map • Tasks/Issues (Level 0,1) • Middle for Communication/Collaboration • Event /News/ Survey /Announcement (Level 0,1) • Bottom for Knowledge Base • Forum/Document/Contacts/Portal

  37. เผยแพร่นำเสนอระบบจัดการความรู้นำร่องเผยแพร่นำเสนอระบบจัดการความรู้นำร่อง • นำเสนอระบบจัดการความรู้นำร่อง • การไฟฟ้าเขตทั่วประเทศ 12 เขต • สำนักงานใหญ่ • ผลตอบรับ • บุคลากรเข้าใจการบริหารจัดการความรู้ตรงกัน • บุคลากรมีความกระตือรือร้น อยากเข้ามาดู และใช้งาน • แต่ก็มีความไม่มั่นใจในเรื่องของความต่อเนื่องของกิจกรรม นโยบาย และการสนับสนุนของผู้บริหารต่อไป

  38. Lesson Learned & Key Success Factor

  39. Lesson Learned • ความไม่สม่ำเสมอในการสนับสนุนการสร้างคณะวิศวกรความรู้ ซึ่งอาจเกิดจากการที่บุคคลกรมีภาระการทำงานประจำ และพิจารณาเห็นว่าการเข้าร่วมเพื่อรับการอบรมเป็นวิศวกรความรู้ไม่ให้ผลได้เสียกับงานประจำที่ทำ จึงทำให้ขาดแรงจูงใจในการเข้าร่วมการอบรม • การไม่สามารถปลีกตัวของผู้เชี่ยวชาญในการให้สัมภาษณ์เพื่อการจับความรู้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งไม่สามารถลดระยะเวลาในกระบวนการจับความรู้ให้สั้นกระชับลงได้ • ข้อจำกัดในการรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องทั้งทางด้านความสามารถในการสืบค้น ระยะเวลาที่ใช้ในการได้มาของเอกสาร และอาจรวมถึงชั้นความลับของเอกสารด้วย • การมีบุคคลกรจำนวนจำกัดในการพัฒนาการบริหารจัดการความรู้ โดยที่บุคคลกรเหล่านี้จะมีภาระงานประจำอยู่แล้วด้วย ทำให้ไม่สามารถลดระยะเวลาในการดำเนินการได้ด้วย • การประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องถึง KMS อาจจะยังไม่เพียงพอในการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

  40. Key Success Factor • ผู้บังคับบัญชาระดับสูงควรจะให้การส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้อย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง • การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจำเป็นต้องมีการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อการบริหารจัดการความรู้ขึ้น โดยให้มีโครงสร้าง กำลังพล สายการบังคับบัญชา และงบประมาณที่ชัดเจน • ภารกิจของหน่วยงานเพื่อการบริหารจัดการความรู้จะต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อกระตุ้นให้เกิดการนำไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ • ผู้บังคับบัญชาในทุกระดับควรจะใช้ KMS ให้เป็นส่วนหนึ่งในการบริหารงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

More Related