1 / 40

ยุทธศาสตร์การปรับตัวภายใต้วิกฤติเศรษฐกิจถดถอย

ยุทธศาสตร์การปรับตัวภายใต้วิกฤติเศรษฐกิจถดถอย. โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการ V-SERVE GROUP รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. 07-2009-1-ภาพรวม.

Download Presentation

ยุทธศาสตร์การปรับตัวภายใต้วิกฤติเศรษฐกิจถดถอย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์การปรับตัวภายใต้วิกฤติเศรษฐกิจถดถอยยุทธศาสตร์การปรับตัวภายใต้วิกฤติเศรษฐกิจถดถอย โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการ V-SERVE GROUP รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 07-2009-1-ภาพรวม

  2. วิกฤติเศรษฐกิจไทยเกิดจากวิกฤติเศรษฐกิจโลกIMF ปรับตัวเลขเศรษฐกิจโลก 2009 ขยายตัวร้อยละ 0.50 จากอัตราเฉลี่ยร้อยละ 3.3 (30 ปี) ต่ำสุดนับแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 • วิกฤติซัพไพร์มในสหรัฐฯ เสียหายเท่าปี 1980 • วิกฤติซัพไพร์มกลายเป็นวิกฤติโลก กระจายไปยัง EU , ญี่ปุ่น , เกาหลี , ประเทศเศรษฐกิจใหม่ และประเทศที่กำลังพัฒนา • การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกขึ้นอยู่กับการฟื้นตัวและความเชื่อมั่นภาคครัวเรือนของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา • สถาบันการเงินของโลกอยู่ในระหว่างการปรับตัวและปัญหาการขาดทุนจะยืดเยื้อไปจนถึงปี 2010 • IMF วิเคราะห์ว่าการดำเนินนโยบายด้านการคลังและการเงินของสหรัฐฯและประเทศ G7 จะทำให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกจะพื้นตัวได้แบบ “V Shape” โดยปี 2010 เศรษฐกิจโลก ร้อยละ 3

  3. อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าที่สำคัญของไทยล้วนติดลบ??อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าที่สำคัญของไทยล้วนติดลบ?? 34.7%

  4. สัญญาณครึ่งปีแรก / 2009เศรษฐกิจไทยเข้าสู่ยุคชะลอตัวรุนแรง • การหดตัวเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า เศรษฐกิจโลก 0.5-0.90% เศรษฐกิจประเทศ G3 -2.06% พย. 2551 = -17.1% ธค 2551 = -15.7% ปี 2551 = 16.8% (175.3) ปี 2552 ประมาณร้อยละ -12.5 (มูลค่า 153.4 แสนล้านเหรียญสหรัฐฯ) • การส่งออกที่ชะลอตัว ทั้งจากอุปสงค์และการกีดกันทางการค้า ทุกประเทศจะใช้นโยบายแบบสหรัฐฯ “America Buy” • ตัวเลขคำสั่งซื้อลดลงเหลือ 48-50% • ดัชนีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (MPI) -18.8% (เดือนธันวาคม 2551) • สัญญาณการชะลอการผลิตและปิดโรงงานเริ่มเห็นเป็นรูปธรรม

  5. เปรียบเทียบตลาดส่งออกของไทย ช่วงเดือนมกราคม ปี 2551 และ 2552 ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการค้าระหว่างประเทศ กรมส่งเสริมการส่งออกโดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

  6. เปรียบเทียบตลาดส่งออกของไทย ช่วงเดือนมกราคม ปี 2551 และ 2552 ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการค้าระหว่างประเทศ กรมส่งเสริมการส่งออกโดยความร่วมมือของกรมศุลกากร

  7. อัตราการใช้กำลังการผลิตลดลงเกือบทุกสาขา (1)(ธค. 2550 เทียบกับ ธค. 2551) ที่มา : กระทรวงอุตสาหกรรม

  8. อัตราการใช้กำลังการผลิตลดลงเกือบทุกสาขา (2)(ธค. 2550 เทียบกับ ธค. 2551) ที่มา : กระทรวงอุตสาหกรรม

  9. อัตราการใช้กำลังการผลิตรายลดลงเกือบทุกสาขา (3)(ธค. 2550 เทียบกับ ธค. 2551) ที่มา : กระทรวงอุตสาหกรรม

  10. ดัชนีเชื่อมั่นการบริโภคหดตัว 47.6 ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) -0.4 ในรอบ 9 ปี • การชะลอการบริโภคเกิดจากการขาดความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจ • ราคาสินค้าเกษตรหดตัว 10-15% , อาหารหดตัว 1-3% • อัตราเงินเฟ้อที่ลดอัตรา -0.4 เป็นสัญญาณที่ไม่ดีที่เศรษฐกิจไทยอาจเข้าสู่ยุคเงินฝืด • รัฐบาลจะต้องมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ เพื่อดึงให้เงินเฟ้อเข้าสู่ฐานปรกติที่ 1-2%

  11. ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index : CPI)เดือนมกราคม 2552 อัตราติดลบ -0.40% ต่ำสุดในรอบ 9 ปี เงินเฟ้อเทียบเดือนเดียวกับปีก่อน

  12. ดัชนีเงินเฟ้อติดลบแสดงถึง..ดัชนีเงินเฟ้อติดลบแสดงถึง.. • เป็นดัชนีเปรียบเทียบราคาขายปลีกสินค้าและบริการ ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งเปรียบเทียบกับราคาเฉลี่ยของสินค้าและบริการ ณ ปีฐานใด หรือระดับราคา เมื่อเทียบกับช่วงระยะเวลาใด ซึ่งนำมาคำนวณเปรียบเทียบ • แสดงให้เห็นถึงอุปสงค์ความต้องการและหรืออำนาจซื้อของผู้บริโภคในการจ่ายสินค้าลดลงต่ำมากกว่าขีดความสามารถในการผลิตสินค้าเข้าสู่ตลาด (Capacity Utilization) • ผลสะท้อนของดัชนีเงินเฟ้อที่ต่ำมาก จะไปในทิศทางเดียวกันกับดัชนีอัตราการผลิตที่ลดลงเหลือเพียง 50% และตัวเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มติดลบหรือโตประมาณ 1.1% • อัตราเงินเฟ้อจะติดลบไปอย่างน้อยขนถึงปลายไตรมาส 2 โอกาสดอกเบี้ยจะลดลงอีกร้อยละ 1 เป็นไปได้สูง • ดัชนีราคาผู้บริโภคจะมีความสัมพันธ์กับอัตราว่างงาน แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยอาจผจญกับปัญหาการว่างงานที่รุนแรง

  13. ปี 2552 / Q1-Q2สัญญาณการว่างงานชัดเจนขึ้น ตัวเลขการว่างงานอาจถึง 900,000-1,000,000 คนหากเศรษฐกิจโต 1%

  14. วิกฤติเศรษฐกิจกับการว่างงานของไทยวิกฤติเศรษฐกิจกับการว่างงานของไทย • ปี 2552 ซึ่งคาดว่าโอกาสที่เศรษฐกิจของไทยอาจถดถอยเฉียด 0.5 หรือติดลบ มีความเป็นไปได้ค่อนข้างสูง • การส่งออกปี 2552 หดตัวอย่างรุนแรง ที่อัตรา -12.5 มูลค่า 153.4 แสนล้านเหรียญสหรัฐฯ จากที่เคยขยายตัวในปี 2551 ที่อัตรา 16.8 มูลค่า 1753.4 แสนล้านเหรียญสหรัฐฯ และการนำเข้าในปี 2552 ก็ติดลบ -11.2 ขณะที่ปี 2551 ขยายตัวที่อัตรา 26.4 (ที่มา กระทรวงการคลัง) • เศรษฐกิจของไทยได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจถดถอยของประเทศคู่ค้า โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา , ประเทศในกลุ่มประชากรยุโรป และประเทศญี่ปุ่น เป็นสัดส่วนการส่งออกของไทยถึงร้อยละ 34.7 • อัตราการใช้กำลังการผลิตของอุตสาหกรรมเหล่านี้ติดลบเฉลี่ยที่ร้อยละ 30 ดัชนีการใช้กำลังการผลิตภาคอุตสาหกรรมหรือ MPI อยู่ที่ร้อยละ 53-55 ติดลบไปแล้วถึงร้อยละ 19.63 • ปี 2552 การว่างงานอาจไปถึงร้อยละ 2.5 ภาคการส่งออกรวมถึงภาคการท่องเที่ยว และภาคการลงทุนมีการขยายตัวอาจถึงขั้นติดลบ เศรษฐกิจของไทยจึงจะซบเซาแบบลากยาว

  15. ตัวเลขการว่างงานจะสัมพันธ์กับ GDP ไตรมาสที่ 4 ปี 2008 GDP 1% การว่างงาน 1.4% จำนวน 525,000 คน ไตรมาสที่ 1 ปี 2009 GDP 0.5-1.0%การว่างงาน 1.8% จำนวน 630,000 คน ไตรมาสที่ 2 ปี 2009 GDP 0% การว่างงาน 2.5% จำนวน 900,000 คน • การเลิกจ้างอย่างเป็นทางการไปแล้ว 60,105 คน และคาดว่าในไตรมาสแรกของปี 2552 ลูกจ้างในสถานประกอบการมีแนวโน้มอาจถูกเลิกจ้างถึง 69,031 คน และลูกจ้างที่ได้รับผลกระทบทั้งจากการลดค่าจ้างและล่วงเวลาอีกประมาณ 227,067 คน • พื้นที่ซึ่งมีแนวโน้มที่จะเลิกจ้าง 5 จังหวัดแรก ประกอบด้วย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 19,462 คน , จังหวัดนครราชสีมา 10,804 คน , จังหวัดปราจีนบุรี 9,612 คน , จังหวัดสมุทรปราการ 9,329 คน และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 5,647 คน

  16. ข้อบ่งชี้ของกิจการที่มีแนวโน้มที่จะเลิกจ้างประกอบด้วยปัจจัย • คำสั่งซื้อลดลง ทำให้ต้องลดการผลิต และหรือลดเวลาการทำงาน • โรงงานเริ่มมีปัญหาสภาพคล่อง ไม่สามารถนำเข้าหรือสั่งซื้อวัตถุดิบให้พอเพียงในการผลิต • การผลิตของโรงงาน หยุดบ้าง ปิดบ้าง ไม่เป็นเวลา • ลดวันทำงานและลดค่าจ้าง • เริ่มมีสัญญาณค้างจ่ายค่าจ้าง หรือเริ่มจ่ายค่าจ้างไม่ตรงเวลา • เริ่มมีสัญญาณการเลิกจ้าง Outsource และหรือเลิกจ้างพนักงานบางแผนก

  17. โลหะการ 7.14% หมดสัญญา 3.6% หมดฤดูกาล 7.4% บริการทั่วไป 9.05% เฟอร์นิเจอร์ 18.06% เฟอร์นิเจอร์ 18.06% ลดขนาดองค์กร 4.8% เครื่องแต่งกาย/รองเท้า 34.65% ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ 31.08% คำสั่งซื้อลด 63.5% ปี 2551 เลิกจ้างไปแล้ว 60,105 คน ประเภทกิจการ สาเหตุการเลิกจ้าง

  18. เศรษฐกิจที่ลดลง 1% มีผลต่อจำนวนคนว่างงาน (ประมาณ 1.12 แสนคน)

  19. ปี 2552สัญญาณเงินตึงตัวทั้งภาครัฐและเอกชน และขาดสภาพคล่อง สถาบันการเงินลดเป้าปล่อยสินเชื่อจากปี 2551 อัตรา 10% เหลือ 5% • สถาบันเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ • รัฐบาลขาดสภาพคล่องจะมีการออกพันธบัตร 2.0 แสนล้าน ปล่อยกู้แย่งสภาพคล่องภาคเอกชน • เงินคลังลดเหลือ 52,000 ล้าน อาจทำให้กระทบการจ่ายเงินงบประมาณ • การเสริมกลไกประกันสินเชื่อ แก้สภาพคล่องให้ SME

  20. สภาพคล่องของประเทศและสถาบันการเงินสภาพคล่องของประเทศและสถาบันการเงิน • แนวโน้มเงินลงทุนภายนอกในครึ่งปีแรก จะยังไม่เข้ามามาก และโอกาสไหลออกมีมากในช่วงกลางปีอาจมีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยน • การขาดดุลงบประมาณปี 2552 จะสูงจากการขาดดุล 350,000 ล้าน และการเก็บเงินไม่เข้าเป้า 10% (จากเป้ารายได้ที่คาดจะเก็บ 1.583 ล้านล้านบาท) อีก 158,300 ล้าน จะทำให้รัฐบาลต้องก่อหนี้สาธารณะ และการกู้เงินในประเทศจะดูดซับสภาพคล่องในตลาด • โอกาสจะเกิดเงินฝืดในระบบการเงิน และภาคเอกชนที่มีความเสี่ยงในการปล่อยสินเชื่อ และเครดิตทางการค้า

  21. แผนกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลอาจเป็นง่อย (1) • มาตรการทางคลังของรัฐบาลอาจมีข้อจำกัดจากประมาณการเก็บภาษีไม่เข้าเป้าและงบประมาณจะติดลบ 10-15% ประมาณ 230,000 ล้านบาท รวมถึงตัวเลขการเก็บภาษี VAT เริ่มมีสัญญาณโตเพียง 0.1 (Q4/2251) จากที่เคยขยายตัว 10.1% • การเก็บภาษี 3 เดือนแรก -16% เป็นสัญญาณทางลบจากภาคอุตสาหกรรมหดตัวเกือบทุกสาขา มาตรการทางภาษีทุก 10,000 ล้าน บาท มีผลต่อ GDP 0.06% • งบกระตุ้นเศรษฐกิจ 350,000 ล้าน ไม่พอเพียงที่จะกู้วิกฤติและอาจมีปัญหาและข้อจำกัดด้านการหาเงินแหล่งเงิน และต้องใช้เวลาทั้งจากการออกพันธบัตรและกู้เงินต่างประเทศ • มาตรการทางการเงินขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้ต่ำกว่าที่ประมาณการ โดยมาตรการลดดอกเบี้ย ธนาคารแห่งประเทศไทยเหลือ 2.0% ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจน้อยมาก เนื่องจากสถาบันการเงินระมัดระวังการปล่อยสินเชื่อ และช่วงต่างดอกเบี้ย (Spread Gap) ห่าง 4-5% อาจไม่มากพอที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจ

  22. แผนกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลอาจเป็นง่อย (2) • ทางธนาคารของรัฐมีปัญหาในเชิงปฏิบัติการในการพิจารณาหลักประกันและเงื่อนไขขั้นตอนการปล่อยสินเชื่อให้ภาคธุรกิจโดยเฉพาะ SME ทำให้เงินช่วยเหลือ ดอกเบี้ยต่ำทั้งจาก คปส. และของรัฐบาล อาจไม่ถึงกลุ่มอุตสาหกรรมเสี่ยงในการเลิกจ่างแรงงาน • รัฐบาลขาดสภาพคล่อง การเบิกจ่ายงบประมาณใช้เพียง 7.9% โดยมีเงินคงคลัง 52,000 ล้านบาทใช้ได้เพียงเดือนครึ่ง • หากกระตุ้นเศรษฐกิจล่าช้า เศรษฐกิจในครึ่งปีแรกโอกาสจะติดลบ 3-4% และการว่างงานในช่วงปลายไตรมาส 2 อาจไปถึงหลักล้านคน (เศรษฐกิจ Q4/2551 โต-3.5)

  23. งบกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้างบกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า

  24. การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจไทยผูกพันกับส่งออก 68% ของ GDP • สหรัฐอเมริกา , ยุโรป และญี่ปุ่น เป็นสัดส่วนส่งออกร้อยละ 35% และอยู่สัดส่วนทางอ้อมอีกร้อยละ 10-15% • การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของไทย จะต้องรอให้เศรษฐกิจและอุปสงค์โลกฟื้นตัวก่อน สหรัฐฯ จะเริ่มใช้วิธีปิดประเทศที่เรียกว่า “America Buy” และประเทศคู่ค้าจะมีมาตรการ NTB และปกป้องการนำเข้ารุนแรง • เศรษฐกิจของสหรัฐฯ จะตกต่ำสู่ระดับต่ำสุดในช่วงปลาย Q1/2009 โดยการว่างงานจะเพิ่มจากอัตราร้อยละ 6.0 เป็นร้อยละ 8-11 ในช่วงกลางปี 2009 • การตกต่ำทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯและยุโรป จะยืดเยื้อไปถึงปี 2010 โดยตัวเลขการนำเข้าจะชะลอตัวไปถึงกลางปี 2010 • รัฐบาลต้องเร่งสร้างงานในประเทศ กระตุ้นการบริโภคและต้องมีมาตรการระยะยาว รองรับการส่งออกชะลอตัว , การผลิตตกต่ำ ,ซึมลากยาว

  25. ตัวเลขที่สำคัญของแต่ละภาคเศรษฐกิจ/สัดส่วนต่อ GDP ลงทุน 10.82% 6.49% ท่องเที่ยว 68% ส่งออก 54% บริโภคภายใน 10% การใช้งบฯรัฐบาล เกษตร 17.1-19.8% 65% นำเข้า ส่งออกโต (-5) -1% นำเข้า (-8.8%) บริโภคภายใน +1.6% การลงทุน(เอกชน) 2.2%

  26. ปี 2009 เศรษฐกิจขาลงและซึมยาว ที่มา สำนักงบประมาณ 17/2/2552

  27. ความวิตกกังวลของนักธุรกิจไทย (เรียงตามลำดับ) • ปัญหาความขัดแย้งการเมือง ร้อยละ 47.6 • ความเชื่อมั่นรัฐบาลในการแก้ปัญหา ร้อยละ 17.1 • ความสามารถในการแข่งขันลดลง ร้อยละ 14.4 • เศรษฐกิจที่ชะลอตัวส่งผลต่อกิจการหดตัวของตลาด ร้อยละ 10.6 • สภาพคล่อง/อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 10.3

  28. ผู้ประกอบการไทยร้อยละ 96.4 ได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจชะลอตัว ผลกระทบที่มีต่อภาคการผลิตปี 2552 ผลประกอบการปี 2551 ไม่มีผลกระทบ 3.3% ผลกระทบรุนแรง 2.7% สูงกว่าเป้าหมาย 24% ผลกระทบน้อย 40.7% ผลกระทบ ปานกลาง/มาก 53.7% ตามเป้าหมาย 7.2% ต่ำกว่าเป้าหมาย 68.4%

  29. ความวิตกกังวลของนักธุรกิจญี่ปุ่นในไทย • ปัจจัยความเสี่ยงการเมืองในประเทศ ร้อยละ 28.68 • ปัจจัยเศรษฐกิจโลกชะลอตัว ร้อยละ 27.80 • ปัจจัยเศรษฐกิจภายในประเทศ ร้อยละ 24.3 • ปัจจัยความเสี่ยงด้วยอัตราแลกเปลี่ยนและอื่นๆ ร้อยละ 19.10

  30. ผู้ประกอบการธุรกิจญี่ปุ่นในไทย ร้อยละ 64ได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจชะลอตัว เพิ่มขึ้นและ กำไรมากขึ้น แย่มาก 28% 17% 15% ยอดขายเพิ่มขึ้น 12% ดีขึ้น แย่ลง 71% 64% ยอดขายลดลง ที่มา : JETRO ที่มา : JETRO

  31. ผลสำรวจการลงทุนด้านโรงงานและเครื่องจักร ของบริษัทญี่ปุ่นในไทย

  32. วิเคราะห์ปัจจัยเชิงบวกเศรษฐกิจไทยอาจไม่เลวร้ายอย่างที่ประมาณการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงบวกเศรษฐกิจไทยอาจไม่เลวร้ายอย่างที่ประมาณการ • ประเทศไทยไม่มีปัญหาฟองสบู่ในภาคอสังหาริมทรัพย์และภาคการเงิน-ธนาคาร ไม่ได้รับผลกระทบจากปัญหา Sub-Prime ที่เกิดในประเทศ G3 • เงินสำรองของไทยมีมากกว่า 110,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ทำให้ไม่มีปัญหาด้านอัตราแลกเปลี่ยนผันผวนมากนัก • รัฐบาลปัจจุบันเข้าใจปัญหาดีกว่ารัฐบาลที่ผ่านมามีการ Road Show และมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ งบประมาณ 350,000 ล้าน เข้ามากระตุ้นบริโภค , สภาพคล่อง และว่างงาน • ปัจจัยการเมืองและความวุ่นวายการเมืองมีการคลี่คลายไปในทางบวก เอื้ออำนวยในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ

  33. วิเคราะห์ปัจจัยเชิงบวกเศรษฐกิจไทยอาจไม่เลวร้ายอย่างที่ประมาณการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงบวกเศรษฐกิจไทยอาจไม่เลวร้ายอย่างที่ประมาณการ • เศรษฐกิจไทยได้รับอานิสงค์จากราคาน้ำมันที่ลดลงกว่า 57% ส่งผลต่อเงินเฟ้อที่ลดลงทำให้ราคาสินค้าลดลง อาจทำให้ประชาชน (ที่ยังไม่ตกงาน) เร่งการบริโภคจะเป็นตัวปรับเศรษฐกิจภายในให้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และอัตราดอกเบี้ยที่ลดลงจะช่วยกระตุ้นการบริโภค • ภาคอุตสาหกรรมของไทยยังมีภูมิคุ้มกันความเสี่ยงที่ดีและยังแข็งแรง อุตสาหกรรมบางกลุ่มไม่ได้รับผลกระทบ เช่น เครื่องนุ่งห่ม , อาหาร แจ้งว่าไม่ได้รับผลกระทบและยังต้องการแรงงานอีกมาก?? • ตัวเลขนักท่องเที่ยวต่างชาติ ปี 2552 อาจมีประมาณ 14 ล้านคน ใกล้เคียงปี 2551 หรือหากลดลงก็ไม่เกินร้อยละ 7-8 มีรายได้ประมาณ 516,000 ล้านบาท • เศรษฐกิจไทย อาจไม่ถึงขึ้นติดลบ โดยปัจจัยเชิงลบและการว่างงานที่เป็นหลักล้านเป็นเพียงสมมุติฐานตามดัชนีเศรษฐกิจ ซึ่งเศรษฐกิจจริงในปี 2009 อาจไม่เลวร้ายกว่าที่คิด

  34. เศรษฐกิจไทย..ใครช่วยได้..??เศรษฐกิจไทย..ใครช่วยได้..?? • ทิศทางเศรษฐกิจไทยปี 2552 ยากที่จะพยากรณ์ • ปัจจัยกระทบเศรษฐกิจไทยไม่เหมือนในอดีต • เศรษฐกิจไทยอิงกับเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า ซึ่งไทยพึ่งพิงส่งออก-นำเข้า ร้อยละ 133 / GDP • ผลกระทบมีต่อภาคการผลิต/บริการ (Real Sector) แต่มีผลกระทบน้อยต่อภาคการเงิน • สภาวะวิกฤติครั้งนี้ ไม่มีใครช่วยใครได้ • ทุกประเทศใช้มาตรการเงินอ่อนค่า , กระตุ้นเศรษฐกิจภายใน , กีดกันสินค้านำเข้า • รัฐบาลต้องบอกความเป็นจริงให้ภาคธุรกิจและภาคเกษตร • งบกระตุ้นเศรษฐกิจ การเบิกจ่ายล่าช้าไม่ทันเวลา และมีเงินไม่มากพอดันเศรษฐกิจภายใน

  35. ทางเลือก-ทางรอด จากวิกฤติเศรษฐกิจถดถอย (1) • เตรียมสถานการณ์รับมือธุรกิจซึม-ยาว ถึงสิ้นปี 2552 (หากธุรกิจอยู่ในกลุ่มเสี่ยง) • รักษาสภาพคล่องรับมือเงินจะตึงหนี้จะเสียมากขึ้น เศรษฐกิจชะลอตัวลาวยากไปจนถึงปลายปี 2552 (เป็นอย่างน้อย) • จัดให้มีแผนบริหารความเสี่ยงระยะยาว (Long Plan Risk Management) โดยใช้สมมุติฐาน ตัวเลขของธุรกิจในทางลบให้มากที่สุด • ให้มีระบบเพิ่มประสิทธิภาพและเพิ่มผลิตผลจากทุนและทรัพยากรในการผลิต (Resources Productivity)

  36. ทางเลือก-ทางรอด จากวิกฤติเศรษฐกิจถดถอย (2) • จัดให้มียุทธศาสตร์ด้านการตลาดและการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (CRM) ให้มียุทธศาสตร์ขยายฐานลูกค้าใหม่และขายตรงลดพึ่งพิงคนกลาง • เพิ่มผลิตภัณฑ์ใหม่และ Product Line หรือ New Business เพื่อเป็นแหล่งรายได้ใหม่และรองรับต้นทุนค่าแรง • สร้างทีมแบบ “One Team” และค้นหานวัตกรรมด้านการบริหาร เพิ่อความอยู่รอด มีความเบ็ดเสร็จแต่ต้องยืดหยุ่น • Change Management บริหารความเปลี่ยนแปลงใหม่ คิดใหม่ ทำใหม่ รื้อโครงสร้างการบริหารให้กะทัดรัด จะไปควบรวมกิจการหรือจะไปซื้อกิจการเป็นทั้งวิกฤติและโอกาส (รวมถึงการเตรียมหางานสำรอง)

  37. Change Managementการบริหารการเปลี่ยนแปลงภายใต้เศรษฐกิจถดถอย

  38. ยุทธศาสตร์การตั้งรับเศรษฐกิจถดถอยและการเปลี่ยนวิกฤติเป็นโอกาสยุทธศาสตร์การตั้งรับเศรษฐกิจถดถอยและการเปลี่ยนวิกฤติเป็นโอกาส • สร้างคุณค่าให้กับธุรกิจและสินค้า / ทำตัวเองให้มีคุณค่า Market Niche • ขยายตลาดแบบเจาะจงกลุ่มเป้าหมาย / เตรียมหางานสำรอง / เลือกเรียนสาขาที่ตลาดต้องการ Value Creation CRM : Customer Relationship • การบริหารความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า / นายจ้าง Knowledge Alert • ใฝ่หาองค์ความรู้เพื่อแก้ปัญหา-ฝ่าวิกฤติ / เรียนต่อ / ป.โท – ป.เอก Change & Flexibility • เปลี่ยนแปลงและยืดหยุ่นการบริหารจัดการ / เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่จะเสี่ยงเป็นคนตกงาน New Innovation • สร้างนวัตกรรมใหม่ให้มีความแตกต่าง / วางแผนเป็นเจ้าของธุรกิจ Business & Life Plan • จัดทำแผนธุรกิจแบบมีเป้าหมาย / วางแผนชีวิตแบบมีเป้าหมาย Liquidity • เสริมสภาพคล่องรองรับเศรษฐกิจซึมยาว / เศรษฐกิจพอเพียง SWOT Analysis • วิเคราะห์ธุรกิจ / ทบทวนตัวเองว่ามีจุดแข็งจุดอ่อนอย่างไร Hopeful • อย่าท้อแท้ / ชีวิตต้องมีความหวัง

  39. ปี 2009 การบริหารทางเลือก..ทางรอดของนักธุรกิจ • การมีสติ Awareness • การมีปัญญา Wisdom Base • การมีวิริยะ-อุตสาหะ Persistency • การบริหารความเสี่ยง Risk Management • การมีเศรษฐกิจพอเพียง Sustainable Economic • การปล่อยวาง Meditate

  40. END

More Related