1 / 71

หน่วยที่ 6 สถิติที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา

หน่วยที่ 6 สถิติที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา. อ.ไพรศิลป์ ปินทะนา สาขาวิชาการประเมินและการวิจัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. จุดประสงค์การเรียนรู้. สารบัญ. ความสัมพันธ์ของการวัดผลและสถิติ.

kreeli
Download Presentation

หน่วยที่ 6 สถิติที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 6สถิติที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา อ.ไพรศิลป์ ปินทะนา สาขาวิชาการประเมินและการวิจัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

  2. จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้

  3. สารบัญ

  4. ความสัมพันธ์ของการวัดผลและสถิติความสัมพันธ์ของการวัดผลและสถิติ • การวัดผล:กระบวนการในการกำหนดหรือให้ค่าเป็นปริมาณ จำนวน อันดับ รายละเอียดของคุณลักษณะ หรือพฤติกรรมความสามารถของบุคคลที่เกิดขึ้นเนื่องจากการศึกษาโดยใช้เครื่องมือเป็นหลักในการวัด ทำให้ได้ตัวเลขหรือข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ที่ใช้แทนจำนวนหรือคุณลักษณะที่ได้จากการวัด • ผลของการวัดจะถูกนำมาคำนวณในทางสถิติ เพราะวิธีการทางสถิติเป็นการจัดกระทำข้อมูลให้มีความหมายขึ้น ช่วยในการแปลความหมายผลของการวัดให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้นและช่วยให้การใช้ผลการวัดมีความเหมาะสม

  5. ความหมายและประเภทของสถิติความหมายและประเภทของสถิติ • สถิติ(statistics) กลุ่มตัวเลขที่แสดงข้อเท็จจริงของสิ่งที่สนใจศึกษา

  6. ประเภทของสถิติแบ่งเป็น 2 ประเภท 1. ระเบียบวิธีทางสถิติ (Statistical Method) 2. สถิติทฤษฎี (Statistical Theory)

  7. ระเบียบวิธีทางสถิติ (Statistical Method) เป็นกระบวนการหาข้อสรุปจากข้อมูล ประกอบด้วย การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลความหมาย การสรุป 1.สถิติพรรณนา(Descriptive Statistics)เป็นสถิติพื้นฐานที่จัดกระทำกับข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่ออธิบายลักษณะส่วนใหญ่ของปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น 2.สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics)เป็นสถิติที่นำผลสรุปจากกลุ่มตัวอย่างไปอ้างอิงกับปรากฏการณ์ทั้งหมดหรือประชากร ได้แก่ สถิติที่ทดสอบความมีนัยสำคัญ

  8. สถิติทฤษฎี (Statistical Theory) หมายถึง สถิติที่เป็นหลักวิชาและทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ สามารถนำมาใช้พัฒนาและสนับสนุนความถูกต้องสมบูรณ์ของระเบียบสถิติ เช่น การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน ทฤษฎีความน่าจะเป็น

  9. วิธีการทางสถิติที่นำมาใช้ในการวัดผลวิธีการทางสถิติที่นำมาใช้ในการวัดผล • ขั้นการเก็บรวบรวมและจำแนกข้อมูล • ขั้นการนำเสนอข้อมูล • ขั้นการวิเคราะห์ • ขั้นการแปลความหมาย

  10. ขั้นการเก็บรวบรวมและจำแนกข้อมูลขั้นการเก็บรวบรวมและจำแนกข้อมูล ได้ข้อมูลดิบ(Raw Data) และต้องจำแนกข้อมูลเป็น 4 ประเภทดังนี้ • จำแนกตามคุณภาพเป็นการจำแนกข้อมูลตามอาชีพ เพศ ระดับ การศึกษา สถานภาพสมรสเป็นต้น • จำแนกตามปริมาณเป็นการจำแนกข้อมูลที่เกิดจากการชั่ง การวัดและการตวง เป็นต้น • จำแนกข้อมูลตามกาลเวลาเป็นการจำแนกข้อมูลตามเวลา • จำแนกตามสภาพภูมิศาสตร์เป็นการจำแนกตามแหล่งข้อมูล ในแต่ละพื้นที่

  11. ขั้นการนำเสนอข้อมูล 1. นำเสนอในรูปบทความ เหมาะสำหรับข้อมูลจำนวนน้อย เช่น “จากการสัมภาษณ์นักศึกษาที่ขอรับทุนการศึกษาในสาขาการวัดผลและการวิจัยการศึกษาจำนวน 45 คนถึงรายได้ของครอบครัวพบว่ามีรายได้ต่ำกว่า 120,000 บาทจำนวน 30 คนและมีรายได้สูงกว่า 120,000 บาท 15 คน”

  12. 2. นำเสนอในรูปตาราง

  13. 3.นำเสนอในรูปกึ่งตารางกึ่งบรรยาย3.นำเสนอในรูปกึ่งตารางกึ่งบรรยาย

  14. ตาราง2แสดงจำนวนและร้อยละของผู้มาลงมติเห็นชอบรัฐธรรมนูญ จำแนกตามเพศ จากตารางพบว่าผู้มาลงมติรัฐธรรมนูญเป็นเพศหญิงมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 58.54 รองลงมาเป็นเพศชายคิดเป็นร้อยละ41.46

  15. 4.นำเสนอในรูปแผนภาพ แผนภูมิ • แผนภูมิรูปภาพ (Pictograph) • แผนภูมิแท่ง (Histogram) • แผนภูมิเส้น (Line graphs) • กราฟความถี่สะสม (Ogive Curve) • แผนภูมิกง (Pie Chart)

  16. แผนภูมิรูปภาพ Apictograph (also called pictogram or pictogramme

  17. แผนภูมิแท่ง (Histogram)

  18. แผนภูมิเส้น (Line graphs)

  19. กราฟความถี่สะสม (Ogive Curve)(pronouncedoh-JYVE )

  20. แผนภูมิกง (Pie Chart)

  21. ขั้นการวิเคราะห์ • การวิเคราะห์ได้แก่ การคำนวณค่าสถิติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อแปลความหมาย และตีความหมายข้อมูล • จะละเอียดมากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของการรวมรวมข้อมูลนั้นๆ • การวิเคราะห์ เช่น การแจกแจงความถี่ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจาย การแจกแจงโค้งปกติ เปอร์เซ็นไทล์ คะแนนมาตรฐาน สหสัมพันธ์ เป็นต้น

  22. ขั้นการแปลความหมาย • เป็นการสรุปผลที่ได้จากการวิเคราะห์ หรืออธิบายผลจากการวิเคราะห์โดยเชื่อมโยงไปสู่จุดมุ่งหมายของการรวบรวมข้อมูลนั้น ๆ

  23. การคำนวณค่าสถิติและการนำไปใช้การคำนวณค่าสถิติและการนำไปใช้ • การแจกแจงความถี่ • การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง • การวัดการกระจาย • การแจกแจงโค้งปกติ • เปอร์เซ็นไทล์ • คะแนนมาตรฐาน • สหสัมพันธ์

  24. การแจกแจงความถี่ (Frequency Tables) • เป็นการจัดกระทำข้อมูลข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ วิธีการ: นำคะแนนที่ได้มาจัดเรียงลำดับ มาก น้อย หาจำนวนที่ได้ในแต่ละคะแนน (ความถี่)

  25. คะแนนสอบของนักเรียน10 คนมีดังนี้12 15 16 16 8 12 10 14 16 11

  26. การนำไปใช้ • ใช้บอกสภาพกลุ่ม การกระจาย คะแนนแต่ละคะแนนมีกี่คน • ใช้หาค่าความถี่สะสม • สรุปลักษณะคะแนนของกลุ่มจากความสัมพันธ์ของคะแนน กับความถี่

  27. การกระจายแบบเบ้ทางบวกการกระจายแบบเบ้ทางบวก ผู้เรียนส่วนใหญ่สอบได้คะแนนน้อย ข้อสอบยาก f x

  28. ผู้เรียนส่วนใหญ่สอบได้คะแนนมาก ข้อสอบง่าย f x การกระจายแบบเบ้ทางลบ

  29. การกระจายแบบสูงโด่ง คะแนนของผู้เรียนเกาะกลุ่มกัน ความสามารถใกล้เคียงกัน ข้อสอบมีอำนาจจำแนกต่ำ f x

  30. การกระจายแบบโค้งปกติ คะแนนของผู้เรียนกระจายจากน้อยไปหามาก ส่วนใหญ่สอบได้ คะแนนกลาง ๆ ของกลุ่ม f x

  31. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measures of Central Tendency) • ค่าเฉลี่ย (Average or Mean: Me) • ค่ามัธยฐาน (Median: Md) • ค่าฐานนิยม (Mode: Mo) ถ้ามี 2 ค่า เรียกว่า ทวิฐานนิยม (Bimodel)

  32. แผนภาพความสัมพันธ์ระหว่างค่ากลาง 3 ประเภท Me=Md=Mo ข้อมูลมีการแจกแจงสมมาตรค่ากลาง 3 ค่าจะมีค่าเท่ากัน Me<Md<Mo Mo<Md<Me ข้อมูลมีการแจกแจงเบ้ซ้าย (เบ้ทางลบ) ข้อมูลมีการแจกแจงเบ้ขวา (เบ้ทางบวก)

  33. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เป็นการหาตำแหน่งค่ากลางที่เป็นตัวแทนของข้อมูลนั้นมีวิธีการหา 3วิธี 1.ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2.มัธยฐาน 3.ฐานนิยม

  34. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ผลรวมทั้งหมดของข้อมูลกลุ่มหนึ่ง หารด้วยจำนวนทั้งหมดของข้อมูล สัญลักษณ์ สูตร

  35. 5, 10,12,7,9,10,13,6,14,11

  36. การนำไปใช้ ใช้อธิบายสภาพของกลุ่ม ความสามารถ สูง ปานกลาง ต่ำ ใช้บอกระดับความยากง่ายของแบบทดสอบ

  37. มัธยฐาน (Median) สัญลักษณ์ Mdn เป็นค่าที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูลชุดนั้นเมื่อนำข้อมูลมาเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก 5 ,6, 7, 9, 10, 10 ,11,12 ,13,14 ค่ามัธยฐานมีค่าเท่ากับ นั่นคือ Mdn = 10

  38. 15 , 9 , 13 , 18 , 17 , 11 , 19 , 16 , 12 เรียงลำดับ 9 , 11 ,12 ,13 , 15 , 16 , 17 , 18 , 19 Mdn = 15

  39. ฐานนิยม (Mode) สัญลักษณ์ Mo ข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุดในข้อมูลชุดหนึ่ง 5 , 10 , 12 , 7 , 9 , 10 , 13 , 6 , 14 , 11 Mo = 10

  40. การวัดการกระจาย เป็นการพิจารณาลักษณะของข้อมูลว่ามีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด มีวิธีคำนวณ 3 วิธี 1.การหาพิสัย 2.การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.การหาค่าความแปรปรวน

  41. การหาค่าพิสัย (Range) R = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ำสุด 5 , 10, 12, 7, 9, 10,13, 6,14,11 R = 14 –5 R = 9

  42. การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) สัญลักษณ์ S, S.D. เป็นค่าวัดการกระจายที่ดีที่สุด ใช้ข้อมูลทุกตัวอย่างในการคำนวณ จึงนิยมใช้กันมาก การแปลความหมาย ถ้า S มีค่าสูง แสดงว่าความสามารถของกลุ่มแตกต่างกันมาก ถ้า S มีค่าต่ำ แสดงว่าความสามารถของกลุ่มแตกต่างกันน้อย

  43. สูตร

More Related