1 / 12

Double-Loop Learning

Learning Organization. Double-Loop Learning. ประวัติอันเกี่ยวกับแนวความคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้.

kitra
Download Presentation

Double-Loop Learning

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Learning Organization Double-Loop Learning

  2. ประวัติอันเกี่ยวกับแนวความคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ประวัติอันเกี่ยวกับแนวความคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ แนวคิด “องค์การแห่งการเรียนรู้” (Learning Organization)  เริ่มมาจากงานเขียนของ  Chris Argyris ศาสตราจารย์ด้านจิตวิทยา ที่เสนอแนวความคิดด้านการศึกษาและพฤติกรรมองค์การของมหาวิทยาลัยฮาร์วาด และในปี  1978 Chris Argyris ได้เขียนผลงานร่วมกับ Donald Schon ศาสตราจารย์ด้านปรัชญา แห่ง MIT ซึ่งถือว่าเป็นตำราเล่มแรกที่เขียนเกี่ยวกับ  Learning Organizationโดยใช้คำว่า  “การเรียนรู้ขององค์การ” (Organization Learning หรือ OL) ซึ่งหมายถึง  การเรียนรู้ของคนทั้งหลายที่เกิดขึ้นในองค์การ  

  3. Chris Argyris • Influenced: the relationship of people and organizations, organizational learning and action research • Personality and Organization (1957) • Integrating the Individual and the Organization (1964) • Theory in Practice, 1974 • Organizational Learning, 1978 • Organizational Learning II, 1996

  4. Chris Argyris • “Success” largely depend on learning • “Knowledge stems from learning stimulated by a perceived problem”(Argyris and Schon (1996) and Popper (1997, 1999)) • Misunderstand “Learning” • Narrow definition – “problem solving” • Need to increase motivation for learning (i.e. computer bug) • Defensive routine, defensive reasoning (i.e. business consultant) • Blame outside factor • Block learning • No improvement

  5. Defensive Routine, Argyris • Single-Loop Learning (like-thermostat) • Organization Model I = theory-in-action or know-how เน้นการทำงาน หรือวิธีทำ • Double-Loop Learning • Organization Model II = theory-in-use or know-why เน้นการอธิบาย • Ice Breaking Techniques การกำจัดความเย็นชาระหว่างบุคคล • Balanced Scorecard สร้าง Feedback Loop ในระดับองค์กร • Argyris, Schon, “On Organizational Learning,” 1978

  6. การเรียนรู้แบบลูปเดียว หรือ วงรอบเดียว • การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อองค์กรเผชิญกับปัญหาและความผิดพลาดทางการจัดการที่มุ่งแก้ปัญหาเฉพาะหน้า โดยมีการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังรูป เมื่อปัญหาเกิดขึ้น จะดูผลที่เกิดตามมา (Consequence) แล้วอาศัยความรู้ในอดีตที่มีอยู่ในตน มาทำการปรับเปลี่ยนการกระทำ (Action Strategy) เพื่อแก้ไขปัญหาข้างต้น

  7. Single-Loop Learning • Focus on “know-how”, “performance”, “Doing the right thing” ( เน้นการทำงาน หรือวิธีทำ) • Design action base on basic value (Universal human tendency) • To remain in unilateral control • To max. “winning” and min. “losing” • To suppress negative feeling • To be as “rational” as possible • Purpose: avoid embarrassment or threat, feeling vulnerable or incompetent • Consequences: defensiveness

  8. Single loop การเรียนรู้แบบลูปเดียว • การเรียนรู้แบบ Single loop ในขั้นที่ 1 เริ่มด้วยการดูสภาพแวดล้อมว่ามีสภาพอย่างไร • ขั้นที่ 2 เปรียบเทียบข้อมูลสิ่งแวดล้อมจากขั้นที่ 1 กับวิธีการปฏิบัติธรรมเนียมการทำงานที่มีอยู่ในตน (การเรียนรู้ในอดีต) • ขั้นที่ 3 ปรับการทำงานให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้น • แบบ Single loop จะเหมาะกับงานประจำหรือการตรวจสอบหาข้อผิดพลาดจากที่เคยทำมาเท่านั้นยังอยู่ในกรอบเดิม

  9. การเรียนรู้แบบสองลูป หรือ สองวงรอบ • เป็นการเรียนรู้เพื่อช่วยแก้ปัญหาและสนับสนุนการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิผลที่เป็นรูปแบบขององค์กรแห่งการเรียนรู้ ซึ่งก่อให้เกิดการสร้างการเรียนรู้และเป็นที่มาของแบบจำลองทางธุรกิจใหม่ที่สอดคล้องกับความซับซ้อนของการเปลี่ยนแปลงของสถาพแวดล้อมในการแข่งขัน เมื่อปัญหาเกิดขึ้น จะดูผลที่เกิดตามมา (Consequence) แล้วจึงศึกษาตัวแปรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง(Governing Variable) จากนั้นจึงอาศัยความรู้ในอดีตที่มีอยู่ในตนเพื่อดูว่าการการดำเนินการใด มีความเหมาะสม แล้วจึงนำมาปรับเปลี่ยนการกระทำ (Action Strategy) เพื่อแก้ไขปัญหาข้างต้น

  10. Double-Loop Learning • Focus on “know-why”, “Improvement”, “Doing thing right” (เน้นการอธิบาย) • Design action base on revised governing variables • Change individual behavior and assumption • Value “feed back” and learning – from reflexive • Purpose: reduce blindness, inconsistency, increase long-run effectiveness by continuous test assumptions and beliefs (public testing). • Consequences: minimize defensiveness

  11. Double loop การเรียนรู้แบบสองลูป • การเรียนรู้แบบ Double loop ในขั้นที่ 1, 2 และ 3 เหมือนกับการเรียนรู้แบบ Single loop แต่ต่างกันที่ขั้น 2 ซึ่งเป็นการตั้งคำถามว่าเพียงธรรมเนียมการปฏิบัติงานที่ทำอยู่มีความเหมาะสมหรือไม่ก่อนที่จะไปหาวิธีการแก้ไข • ในระบบราชการจะไม่มีขั้นตอนนี้เป็นเพียงการทำเพื่อสนองนโยบายเท่านั้นการเรียนรู้ขององค์การเสมือนสมองจะเป็นแบบ Double loop

  12. Single loop learning vs. Double loop learning

More Related