1 / 14

โรคไข้เลือดออก

โรคไข้เลือดออก. จังหวัดศรีสะเกษ. DENGUE HEMORRHAGE FEVER. สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ข้อมูลจากระบบรายงานเร่งด่วน สำนักระบาดวิทยา(ณ 20พย.55). อัตราป่วยไข้เลือดออก ปี 2550-2555 จำแนกรายภาคและจังหวัดศรีสะเกษ. ต่อแสนปชก.

kitra-wells
Download Presentation

โรคไข้เลือดออก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคไข้เลือดออก จังหวัดศรีสะเกษ DENGUE HEMORRHAGE FEVER

  2. สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ข้อมูลจากระบบรายงานเร่งด่วน สำนักระบาดวิทยา(ณ 20พย.55)

  3. อัตราป่วยไข้เลือดออก ปี 2550-2555 จำแนกรายภาคและจังหวัดศรีสะเกษ ต่อแสนปชก.

  4. เปรียบเทียบอัตราป่วยไข้เลือดออกประเทศไทยและจังหวัดศรีสะเกษ ปี 2555 จำแนกรายเดือน ราย

  5. จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2555 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี จ.ศรีสะเกษ ราย

  6. ผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิต ปี 2555 ประเทศไทย

  7. ผู้ป่วยไข้เลือดออก ปี 2555 จำแนกตามกลุ่มอายุ กลุ่มอายุผู้ป่วยไข้เลือดออก เรียงจากมากไปหาน้อย : 10-14,5-9 ,15-24,0-4, 25-34,35-44,45-54, 55-64และ65+ปี (ประเทศไทยและศรีสะเกษ)

  8. อัตราป่วยไข้เลือดออก ปี 2555 จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ (ณ 19 พย.55)

  9. ผลการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการข้อมูลจากสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7

  10. ผลการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ ปี 2555จังหวัดศรีสะเกษ พบเป็น D1= 2ราย D4=2 ราย

  11. จุดเน้นการดำเนินงานของกรมควบคุมโรค ปี 2556งานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 6 มาตรการ 1.อำเภอเข้มแข็งป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2.สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 3.พัฒนาข่าวกรอง พยากรณ์และเตือนภัยไข้เลือดออก 4.พัฒนากลไกและขั้นตอนการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินโรคติดต่อนำโดยแมลง 5.พัฒนาองค์ความรู้/เทคโนโลยี่ทันสมัยในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมไข้เลือดออก 6.พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการโรคติดต่อนำโดยแมลง

  12. อำเภอเข้มแข็งป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกจำนวน 5 กิจกรรม 1.สนับสนุน พัฒนาเครือข่ายระดับตำบลในการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน(IVM) 2. สนับสนุน พัฒนาเครือข่ายผู้ประกอบการในแหล่งท่องเที่ยวปลอดลูกน้ำ 3. สนับสนุน พัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนแบบยั่งยืน(PAR) 4.เครือข่ายระดับท้องถิ่นนำ พรบ.สาธารณสุขมาใช้ลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคไข้เลือดออก 5.เร่งรัดอำเภอดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก(สุ่มสำรวจค่าดัชนีความชุกลูกน้ำ 3 รอบ กพ.,พค.,สค.)

  13. รายชื่อพื้นที่ดำเนินการ จังหวัดศรีสะเกษ อำเภอกันทรลักษ์ อำเภอขุนหาญ อำเภอขุขันธ์ อำเภอภูสิงห์

More Related