1 / 30

แรงงานต่าง ด้าว กับ การ รักษาความสามารถ ในการแข่งขัน ของ อุตสาหกรรมเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มไทย

แรงงานต่าง ด้าว กับ การ รักษาความสามารถ ในการแข่งขัน ของ อุตสาหกรรมเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มไทย. กิริยา กุลกลการ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ kiriya@econ.tu.ac.th 22 กรกฎาคม 2552. สถานการณ์แรงงานต่างด้าวในประเทศไทย. มีจำนวน 2-2.5 ล้านคน

kiri
Download Presentation

แรงงานต่าง ด้าว กับ การ รักษาความสามารถ ในการแข่งขัน ของ อุตสาหกรรมเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แรงงานต่างด้าว กับ การรักษาความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มไทย กิริยา กุลกลการ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ kiriya@econ.tu.ac.th 22 กรกฎาคม 2552

  2. สถานการณ์แรงงานต่างด้าวในประเทศไทยสถานการณ์แรงงานต่างด้าวในประเทศไทย • มีจำนวน 2-2.5 ล้านคน • เป็นชาวพม่า 70%, ลาว 15% และกัมพูชา 15% • 43% ในกรุงเทพและปริมณฑล และจำนวนมากในจังหวัดชายแดน • ส่วนใหญ่เป็นแรงงานไร้ฝีมือ • ทำงานในภาคเกษตร ประมง ก่อสร้าง และภาคบริการ

  3. นโยบายเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าวในประเทศไทยนโยบายเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย • ประเทศไทยเปลี่ยนจากประเทศที่ส่งออกแรงงานสุทธิไปเป็นประเทศที่นำเข้าแรงงานสุทธิในปี 1990 • ประเทศไทยไม่มีนโยบายให้มีการนำเข้าแรงงานจากต่างประเทศ • ก่อนปี 2001 ผ่อนผันให้แรงงานต่างด้าวทำงานในบางพื้นที่บางกิจการ เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานต่างด้าว • ปี 2001 เปิดให้มีการขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าวทั่วประเทศ ไม่จำกัดพื้นที่และกิจการเพื่อทราบข้อมูลแรงงานต่างด้าวที่แท้จริง • ปี 2002-2003 ได้มีการทำ MOU กับพม่า ลาว และกัมพูชา • ปี 2008 มีพระราชบัญญัติแรงงานต่างด้าว

  4. ปัญหาเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าวปัญหาเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว • แรงงานต่างด้าวส่งผลต่อเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของชาติ • ด้านเศรษฐกิจ • ตลาดแรงงาน • ภาระการคลัง • ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม • การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

  5. วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา • ศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกิจการที่ใช้และไม่ใช้แรงงานต่างด้าวในเรื่องการลงทุน เทคโนโลยี นวัตกรรม เครื่องจักร การส่งออก และการเป็นเจ้าของโดยชาวต่างชาติ • ทดสอบสมมติฐานว่า กิจการที่ใช้แรงงานต่างด้าวมีความสามารถในการแข่งขันต่ำกว่ากิจการที่ไม่ใช้แรงงานต่างด้าวหรือไม่

  6. ผลการศึกษาในอดีต • การยกเลิกโครงการ Bracero ทำให้การพัฒนาเครื่องจักรเพื่อเก็บเกี่ยวเจริญรุดหน้าอย่างมากในภาคเกษตรกรรมของอเมริกา (Krikorian 2000; Martin 2001; Sarig, Thompson & Brown 2000; Lind 2006) • ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีขึ้นกับทักษะแรงงานที่มีในประเทศ (Acemoglu 1998; Quispe-Agnoli & Zavodny 2002; Lewis 2005)

  7. ผลการศึกษาในอดีต • แรงงานต่างชาติทำให้ผลิตภาพเพิ่มสูงขึ้น เพราะแรงงานต่างชาติได้นำทักษะความสามารถที่แตกต่างจากแรงงานท้องถิ่นเข้าสู่ขบวนการผลิต(Ottaviano 2005) • การเกี่ยวข้าวในอเมริกาใช้เครื่องจักรที่ทันสมัยเมื่อเทียบกับประเทศอื่น • การใช้แรงงานต่างชาติมีความยุ่งยากมาก และในยุคโลกาภิวัตน์ ผู้ผลิตควรต้องเร่งพัฒนาการผลิตเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน

  8. งานศึกษาในประเทศไทย • Beesey (2004) พบว่า เครื่องจักรมีราคาแพง และไม่สามารถทำงานแทนคนได้ เช่น งานเชื่อมเหล็ก งานจัดวางโครงเหล็ก และการเทซีเมนต์ • ARCM (2004) พบว่าโรงงานส่งออกขนาดใหญ่เท่านั้นที่สามารถเปลี่ยนไปใช้เครื่องแกะกุ้งได้อย่างคุ้มทุน

  9. อุตสาหกรรมเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มไทยอุตสาหกรรมเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มไทย • อุตสาหกรรมเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม เพราะเป็นอุตสาหกรรมการผลิตที่มีการใช้แรงงานต่างด้าวจำนวนมาก • เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น • มูลค่าส่งออกลดลงจาก 25% ของมูลค่าส่งออกทั้งหมดในปี 1987 เป็น 5% ในปี 2005 • จำนวนโรงงานเพิ่มขึ้นจาก 1,574 โรงในปี 1989 เป็น 3,066 โรงในปี 1995 แล้วลดลงเป็น 2,541 โรงในปี 2005

  10. อุตสาหกรรมเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มไทยอุตสาหกรรมเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มไทย • การจ้างงานเพิ่มขึ้นจาก 688,000 คนเป็น 862,000 คน (22%) ในปี 1996 แล้วจึงลดลงเป็น 825,700 คน (15% ของการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม) ในปี 2005 • สัดส่วนการส่งออกต่อการผลิตได้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆตั้งแต่ปี 1995 ถึง 2005

  11. อุปสรรคของอุตสาหกรรม • ค่าจ้างที่เพิ่มสูงขึ้น • ค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น • การแข่งขันที่สูงขึ้น • โดยเฉพาะเมื่อระบบโควต้านำเข้าสิ่งทอถูกยกเลิกไปภายใต้การเปิดเสรีการค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม

  12. การปรับตัวของอุตสาหกรรมการปรับตัวของอุตสาหกรรม • เน้นการออกแบบ • พัฒนาวัสดุใหม่ๆ • พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต เช่น CAD, CAM, GTS • เปลี่ยนจาก OEM เป็น OBM

  13. การปรับตัวของอุตสาหกรรมการปรับตัวของอุตสาหกรรม • ขนส่งสินค้าด่วนทางอากาศ • แสวงหาตลาดใหม่ • ตั้งศูนย์บริการส่งออกโบ๊เบ๊และสร้างตราสินค้ากลาง • ย้ายฐานการผลิต • ใช้แรงงานต่างด้าว

  14. ความหมายของความสามารถในการแข่งขันความหมายของความสามารถในการแข่งขัน • ความสามารถที่จะผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลทัดเทียมหรือดีกว่าคู่แข่ง • ผลิตภาพ (Productivity):Michael E. Porter • ผลิตภาพ • เทคโนโลยี • ประสิทธิภาพ

  15. ข้อมูลที่ใช้ • ใช้ข้อมูลจากการสำรวจผลิตภาพและบรรยากาศการลงทุนในประเทศไทย ของสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ปี 2006 • 96 กิจการ: 84 กิจการไม่ใช้แรงงานต่างด้าว,12 กิจการใช้แรงงานต่างด้าว

  16. ลักษณะที่ใช้ในการเปรียบเทียบ 26 ประการ • อายุและขนาดของกิจการ • อายุและประเภทของเครื่องจักรและอุปกรณ์ • สัดส่วนเครื่องจักรที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ • การติดต่อกับต่างประเทศ • สัดส่วนการเป็นเจ้าของโดยชาวต่างชาติ • การขายสินค้าให้บริษัทข้ามชาติ • สัดส่วนการส่งออก

  17. ลักษณะที่ใช้ในการเปรียบเทียบ 26 ประการ • การวิจัยและการพัฒนา (R&D) • ค่าใช้จ่าย • การจ้างพนักงาน • การจ้างองค์กรอื่น • การลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • การมีตราสินค้าเป็นของตนเอง • เครือข่ายธุรกิจและการมีส่วนร่วมของลูกค้า • การคาดการณ์ยอดขายในอนาคต

  18. แผนการลงทุนเพิ่มกำลังการผลิตหรือปรับปรุงคุณภาพแผนการลงทุนเพิ่มกำลังการผลิตหรือปรับปรุงคุณภาพ • การปรับปรุงสินค้าเดิม • จำนวนสินค้าใหม่ที่โรงงานผลิตในช่วง 2004-2006 • การปรับปรุงและพัฒนาเครื่องจักรและอุปกรณ์ • การเปิดตลาดใหม่ • การซื้อหรือยื่นจดลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตร • การพัฒนาสินค้าหลักตัวใหม่ • การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตสินค้าหลักโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ • การได้รับสิทธิประโยชน์จากภาครัฐในการคิดค้นนวัตกรรมทางเทคโนโลยีหรือการทำวิจัยและพัฒนา

  19. ผลการศึกษา • กิจการที่ใช้แรงงานต่างด้าวมีลักษณะด้อยกว่ากิจการที่ไม่ใช้แรงงานต่างด้าว 12 ประการจากทั้งหมด 26 ประการ ดังนี้

  20. ประเภทของเครื่องจักรและอุปกรณ์ประเภทของเครื่องจักรและอุปกรณ์ กิจการที่ใช้แรงงานต่างด้าว กิจการที่ไม่ใช้แรงงานต่างด้าว

  21. อายุของเครื่องจักร กิจการที่ใช้แรงงานต่างด้าว กิจการที่ไม่ใช้แรงงานต่างด้าว

  22. สมการถดถอย: ผลิตภาพกับการใช้แรงงานต่างด้าว • Pคือ ตัวชี้วัดความสามารถในการแข่งขัน • Ageคือ อายุของกิจการ • Firmsizeคือ ขนาดของกิจการ • DomExคือ สถานะการส่งออก • Foreignคือ สัดส่วนการเป็นเจ้าของโดยชาวต่างชาติ • Compคือ สัดส่วนเครื่องจักรที่ถูกควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ • Vinคือ สัดส่วนของเครื่องจักรที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี • RDคือ ค่าใช้จ่ายในการทำ R&D • Xregคือ ที่ตั้งของกิจการ • Mคือ สัดส่วนการจ้างแรงงานต่างด้าว

  23. ผลการศึกษา

  24. สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะสรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ • กิจการที่ใช้แรงงานต่างด้าวมีลักษณะด้อยกว่ากิจการที่ไม่ใช้แรงงานต่างด้าวบางประการที่อาจส่งผลเสียต่อความสามารถในการแข่งขันในระยะยาว • ความสามารถในการแข่งขันของกิจการที่ใช้แรงงานต่างด้าวไม่ได้ต่ำกว่าความสามารถในการแข่งขันของกิจการที่ไม่ใช้แรงงานต่างด้าว • อุปสรรคสำคัญของอุตสาหกรรมเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มไทยคือ การขาดแคลนแรงงานมีฝีมือ เพราะงานบางอย่างไม่สามารถใช้เครื่องจักรแทนแรงงานคนได้

  25. สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะสรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ • ค่าจ้างแรงงานไทยและแรงงานต่างด้าวเท่ากัน แสดงว่า แรงงานทั้งสองประเภททดแทนกันได้สมบูรณ์ • การพึ่งพิงแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านอาจไม่ใช่ทางออกที่ยั่งยืน • ผู้ประกอบการควรเปลี่ยนไปผลิตเสื้อผ้าที่ค่าจ้างแรงงานไม่ใช่หัวใจสำคัญในการแข่งขัน

More Related