1 / 95

Supply Chain Model

Supply Chain Model. Concerned with SCOR model. by Kawinthorn Saicharoen. Logistics คืออะไร. ลอจิสติกส์ (Logistics) ตามความหมายดั้งเดิมมีความหมายว่า “ การส่งกำลังบำรุง ” หรือ “ พลาธิการ ” . ตั้งแต่ยุค นโปเลียน สงครามเวียดนาม อื่นๆ. Logistics คืออะไร.

kimn
Download Presentation

Supply Chain Model

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Supply Chain Model Concerned with SCOR model by Kawinthorn Saicharoen

  2. Logistics คืออะไร ลอจิสติกส์ (Logistics) ตามความหมายดั้งเดิมมีความหมายว่า “การส่งกำลังบำรุง” หรือ “พลาธิการ” ตั้งแต่ยุค นโปเลียน สงครามเวียดนาม อื่นๆ

  3. Logistics คืออะไร Logistics ตามความหมายของ Council of Logistics Management (CLM) ในปี 1998 กล่าวว่า “Logistics management is that part of the supply chain process that plans, implements ,and controls the efficient , effective flow and storage of goods , services , and related information from the “point – of – origin to the point – of – consumption” in order to meet customers requirement”

  4. Logistics คืออะไร “Logistics หมายถึง กิจกรรมหรือการกระทำใดๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าและบริการ รวมถึงการเคลื่อนย้าย , จัดเก็บ และกระจายสินค้า จากแหล่งที่ผลิต (Source of Origin) จนสินค้าได้มีการส่งมอบไปถึงแหล่งที่มีความต้องการ (Source of Consumption) โดยกิจกรรมดังกล่าว จะต้องมีลักษณะเป็นกระบวนการแบบบูรณาการ โดยเน้นประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยมีเป้าหมายในการส่งมอบแบบทันเวลา (Just in Time) และเพื่อลดต้นทุน โดยมุ่งให้เกิดความพอใจแก่ลูกค้า (Customers Satisfaction) และส่งเสริมเพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มแก่สินค้าและบริการ ทั้งนี้ กระบวนการต่างๆของระบบ Logistics จะต้องมีลักษณะปฏิสัมพันธ์ที่สอดคล้องประสานกัน ในอันที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน”

  5. Logistics คืออะไร สรุป Logistics คือ กระบวนการ การจัดซื้อจัดหาสินค้า การส่งมอบถึงมือลูกค้า เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าโดยที่ต้องทำให้ต้นทุนต่ำที่สุด ในทรัพยากรที่จำกัด โดยใช้การบูรณาการแต่ละส่วนงาน

  6. องค์ประกอบของ Logistics วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่ง ข้อมูลความต้องการ ข้อมูลความต้องการ ความพึงพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อ 1. ได้รับสินค้าถูกต้องตามความต้องการ 2. ในคุณภาพที่ถูกต้อง3. ราคาตามที่ได้ตกลงกันไว้ 4. การบริการที่ถูกต้อง5. ได้รับสินค้าตรงเวลา

  7. Make สินค้า/บริการ องค์ประกอบของ Logistics Plan Procurement Delivery Customer Factory Supplier วัตถุดิบ Return Return Warehousing

  8. องค์ประกอบของ Logistics Coordination ความพึงพอใจ ความพึงพอใจ สินค้า สินค้า Customer Factory Supplier Information Communication

  9. Logistics VS. Supply Chain Management “Supply Chain Management (SCM) is the integration and management of supply chain organizations and activities through cooperative organizational relationships, effective business processes , and high levels of information sharing to create high-performing value systems that provide member organizations a sustainable competitive advantage.” Supply Chain เป็นกิจกรรมที่มีการปะทะสัมพันธ์หรือ ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างการจัดซื้อกับการตลาดในลักษณะที่เป็นบูรณาการ การค้าในยุคโลกาภิวัฒน์ (Globalization) ซึ่งเป็นการค้าแบบไร้พรมแดน ทั้ง Logistics และ Supply Chain ต่างก็จะมีภาระหน้าที่ (Function) แตกต่างกันในอาณาบริเวณของตลาด โดยต่างก็เป็นกิจกรรม ที่ส่งเสริมการตลาด และการผลิตโดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน”

  10. Logistics VS. Supply Chain Management สรุป Supply Chain Management เป็นการบูรณาการองค์กรณ์ธุรกิจที่มีความเกี่ยวข้องกันทางด้าน อุปสงค์ / อุปทาน เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าโดยความร่วมมือดังกล่าว จะเป็นความร่วมมือตั้งแต่ ต้นน้ำ(Upstream) จนถึงปลายน้ำ(Downstream)

  11. Logistics VS. Supply Chain Management ความเหมือน คือ เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุดิบ หรือ ผลิตภัณฑ์ ความต่าง คือ Logistics เป็นการเคลื่อนย้าน สินค้า/ผลิตภัณฑ์ ภายในองค์กร Supply Chain เป็นการเคลื่อนย้าย สินค้า/ผลิตภัณฑ์ ระหว่าง องค์กร Logistics และ Supply Chain Management เป็นของคู่กัน แยกจากกันไม่ได้ เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

  12. การไหลทางการเงิน การไหลของสินค้า การไหลสารสนเทศน์ Logistics VS. Supply Chain Management การเติมเต็มใหม่ ผลิต จัดซื้อ/จัดหา ใบสั่งลูกค้า ผู้ค้าส่ง และ ผู้กระจายสินค้า ลูกค้า ผู้ส่งมอบ ผู้ค้าปลีก ผู้ผลิต

  13. ความสามารถในการแข่งขันของ SCM Business Relation Business Alliance Information Sharing and Keep Secret Information

  14. ความสามารถในการแข่งขันของ SCM กระบวนการหลักที่ทำให้อุตสาหกรรมแข่งขันได้ กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาผู้จัดซื้อ การจัดการด้านคำสั่งซื้อ และ ลูกค้า

  15. การวัดสมรรถนะของโซ่อุปทานการวัดสมรรถนะของโซ่อุปทาน แบ่งออกเป็น 3 ด้าน 1. Efficiency- Min Cost- Inventory Cost 2. Responsiveness- Loss sale- Quick Response 3. Effectiveness- Value Chain

  16. Quick Response คือ ยุทธ์ศาสตร์ในการเชื่อมโยงการดำเนินการของผู้ผลิต ผู้จัดส่ง และ ลูกค้า มุ่งเน้นที่การลด Lead Time ข้อดีคือ • เป็นการกดดันด้านเวลา • มั่นใจได้ว่าสินค้ามีคุณภาพ • ลดสินค้าคงคลัง • ลดความผิดพลาดในการคาดการณ์ • ลดความเสี่ยงของผู้ประกอบการ

  17. New Product Development Operation Distribution Service Marketing And Sale Finance, Accounting, Information Technology, Human Resource Value Chain

  18. Supply Chain Marketing Framework Competitive Strategy Supply Chain Strategy Efficiency Responsiveness Firm  Warehouse  Wholesaler  Retailer

  19. Efficiency Responsiveness Firm  Warehouse  Wholesaler  Retailer Supply Chain Marketing Framework Inventory Facility Transportation Pricing Information Sourcing

  20. SCOR Model SCOR Model = Supply Chain Operation Reference Model ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้อธิบายลักษณะ และแสดงให้เห็นถึงกิจกรรมทางธุรกิจในโซ่อุปทานทั้งหมด

  21. SCOR Model

  22. SCOR Model SCOR modelจะประกอบไปด้วย 5 กระบวนการจัดการหลักคือ 1) Plan เกี่ยวข้องกับการวางแผนต่างๆ2) Source เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดหา และการขนส่งวัตถุดิบ3) Make เกี่ยวข้องกับการผลิตและการจัดการคลังสินค้าสำเร็จรูป4) Delivery เกี่ยวข้องกับการจัดการในการขนส่งสินค้าไปยังลูกค้า5) Return เกี่ยวข้องกับส่งวัตถุดิบคืนกลับผู้ขายหรือผู้ส่งมอบ และรับสินค้า คืนจากลูกค้า

  23. SCOR Model องค์ประกอบ Metric Best Practice Asset KPI Cost Flexibility /Responsiveness Reliability

  24. SCOR Model ระดับการดำเนินการ • การกำหนดกลยุทธ์ • การากำหนดองค์ประกอบการปฏิบัติงาน • การกำหนดรายละเอียดการปฎิบัติงาน • การนำไปปฏิบัติ

  25. SCOR Model ระดับการดำเนินการ ระดับที่ 1 การกำหนดกลยุทธ์ เป็นการกำหนดขอบเขต และตั้งเป้าหมายในการปรับปรุงประสิทธิภาพของห่วงโซ่อุปทานโดยการวิเคราะห์ปัจจัย ภายใน/ภายนอก องค์กรเพื่อกำหนดกลยุทธ์ในการแข่งขัน

  26. SCOR Model ระดับการดำเนินการ ระดับที่ 1 การกำหนดกลยุทธ์ • ปัจจัยภายใน • ต้นทุน Logistics เทียบกับ ต้นทุนรวม • ค่าเฉลี่ยรายได้/จำนวนพนักงาน • Net Assets turn over • Cash to Cash turn over • ปัจจัยภายนอก • %การส่งสินค้าตรงตามกำหนดของลูกค้า • %การส่งสินค้าให้ลูกค้าได้อย่างถูกต้อง • Lead Time

  27. SCOR Model ระดับการดำเนินการ ระดับที่ 2 การกำหนดองค์ประกอบการปฏิบัติงาน โดยกำหนดเป็นโครงร่างของ Supply Chain เป็นเครื่องมือในการสร้างแบบจำลองโซ่อุปทาน กิจกรรมปฎิบัติงาน พิจารณาใน Plan, Source, Make, Deliver PLAN Executing กิจกรรมในการดำเนินงานที่ถูกกระตุ้น/สั่ง ด้วยแผน กิจกรรมการเตรียมการสำหรับการวางแผน Enabling

  28. SCOR Model ระดับการดำเนินการ ระดับที่ 2 การกำหนดองค์ประกอบการปฏิบัติงาน ปัจจัยวัดผลการปฎิบัติงาน • %การส่งสินค้าตรงเวลาของ Supplier • Lead Time ของ Supplier • ต้นทุนรวมในการจัดหาวัตถุดิบ • ระยะเวลาในการรับคำสั่งซื้อจนส่งมอบ • ต้นทุนในการจัดการคำสั่งซื้อ • ปริมาณ Safety Stock

  29. SCOR Model ระดับการดำเนินการ ระดับที่ 3 การกำหนดรายละเอียดการปฎิบัติงาน เป็นการกำหนดรายละเอียดของระดับที่ 2 ใช้การวิเคราะห์ ของระดับที่ 1 และ ระดับที่ 2 Input / Outputของแต่ละกระบวนการ ประกอบไปด้วย KPI Best Practice

  30. SCOR Model ระดับการดำเนินการ ระดับที่ 4 การนำระดับที่ 3 ไปดำเนินการ ไม่มีกำหนดอยู่ใน SCOR model แต่จะเป็นการนำแผนมากำหนดการปฏิบัติให้เกิดความสอดคล้องกับกระบวนการที่ได้กำหนดไว้

  31. L=0 L=3 L=2 L=1 โรงงาน ผลิตเบียร์ ศูนย์กระจายสินค้า ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ลูกค้า คำสั่งซื้อ คำสั่งซื้อ คำสั่งซื้อ คำสั่งซื้อ Supply Chain Management Model (Beer Game) กติกา1. ในการเล่นจัดให้มีรอบเวลาเป็นสัปดาห์ 2. ใน 4 สัปดาห์แรกผู้เล่นสั่งได้ครั้งละ 4 ลังเท่านั้น นอกจากนั้นสามารถสั่งได้ตามใจ 3. ต้นทุนในการจัดเก็บ = 4 บ/ล ต้นทุนในการขาดส่ง = 6 บ/ล สั่งซื้อครั้งละ 1 บ

  32. Supply Chain Management Model (Beer Game) เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างเกมส์ 1. ในระหว่างการเล่นช่วงกลางๆเกมส์จะเป็นช่วงเทศกาลเบียร์ความ ต้องการของลูกค้าจะเพิ่มอย่างรุนแรง และลดลงอย่างรุนแรงหลังผ่านไป ประมาณ 16 สัปดาห์ 2. การเล่นเกมส์ให้เล่น 2 รอบ รอบแรก จะไม่มีการเปิดเผยข้อมูลความ ต้องการ หรือสถานะของสินค้าคงคลังแก่ คู่ค้า หรือ คู่แข่ง รอบที่ 2 อนุญาติให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันกับคู่ค้าของตัวเองได้ 3. เป้าหมายสำคัญที่สุดในการเล่นเกมส์คือ ต้นทุนรวมต่ำที่สุด

  33. Bullwhip Effect เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดการผันผวนในการบริหารงานโซ่อุปทาน

  34. Bullwhip Effect ปัจจัยที่ส่งผลกับ ปรากฏการณ์แส้ม้า (Bullwhip Effect)1. การประมาณการความต้องการ (Demand Forecasting) 2. การปันส่วนสินค้า (Product Sharing) 3. การจัดชุดคำสั่งซื้อ (Order Batching) 4. การตั้งราคาสินค้า (Product Pricing) 5. การวัดสมรรถนะของการทำงาน (Performance Measurement)

  35. Bullwhip Effect Bullwhip Effect เกิดขึ้นจากการประสานข้อมูลที่ไม่สอดคล้องลงตัว หรือ อาจพูดได้ว่า ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น ส่วนหนี่งที่การจัดการข้อมูล (information flow) ที่ไม่สอดคล้องสัมพันธ์กัน • วิธีการแก้ไข • ให้มีการเปิดเผยข้อมูลยอดขายแก่ผู้ขาย • ให้ใช้ค่าพยากรณ์เดียวกัน • จัดให้มีแบทช์สินค้าให้มีหลายขนาด • ให้มีการร่วมมือกันในการบริหารคลังสินค้า

  36. Sourcing

  37. การจัดการด้านคำสั่งซื้อ และ ลูกค้า ERP Order Receive Purchase Order from Customer Order Management Verification / Planning / Scheduling Production/Delivery Delivery to Customer

  38. การจัดหา และ การจัดซื้อ การจัดซื้อ เป็นการเชื่อมโยงระหว่างองค์กร เป็นส่วนหนึ่งของความสามารุถในการทำกำไร โอกาสในการเลือกผู้ขาย ที่สามารถเจริญความสัมพันธ์ กันต่อได้ในอนาคต

  39. การจัดหา และ การจัดซื้อ • วัตถุประสงค์ และ เป้าหมายของการจัดซื้อ • สินค้าตรงตามความต้องการ • คุณภาพเหมาะสมกับราคา • ปริมาณที่ถูกต้อง • ตรงต่อเวลา • จัดส่งในสถานที่ที่ต้องการ • ราคาตามที่ตกลง และ เหมาะสม • ด้วยบริการที่ถูกต้อง

  40. การจัดหา และ การจัดซื้อ • หลักปฏิบัติที่ “จัดซื้อ” ควรคำนึงถึง • จัดหาวัตถุดิบให้มีอย่างครบครันและต่อเนื่อง • ต้องคำนึงถึงระดับสินค้าคงคลังที่ค่ำที่สุด • ค้นหาผู้จัดส่งที่ดี หรือพัฒนาผู้จัดส่งเพื่อความสามารถเจริญความสัมพันธ์ไปสู่การร่วมมือในการแข่งขันได้ • กำหนดมาตรฐานต่างๆสำหรับวัตถุดิบ (รายละเอียดสินค้า ราคากลาง เป็นต้น) • การซื้อสินค้าต้องได้ที่ราคาต่ำที่สุด • ควบคุมต้นทุนดำเนินงานให้ต่ำที่สุด • อาศัยการสื่อสาร และ ประสานงานที่ดี เพื่อให้เกิดความสอดคล้องในการทำงาน

  41. การจัดหา และ การจัดซื้อ • การประเมินผลผู้จัดส่งวัตถุดิบ • นอกเหนือจากความสามารถในการตอบสนองความต้องการได้แล้วการประเมินผู้จัดส่งอาจจะต้องพิจารณาถึงสิ่งต่างๆต่อไปนี้ • การลดเวลานำ (Lead Time) • การพัฒนาปรับปรุงคุณภาพสินค้า • การพัฒนาปรับปรุงการจัดส่งสินค้า • ..........

  42. การจัดหา และ การจัดซื้อ • จะผลิตหรือจะซื้อ • ประเด็นการตัดสินใจคือ • ต้นทุน • ความแน่นอนของการจัดส่ง • กำลังการผลิต • ความได้เปรียบทางการแข่งขัน

  43. Inventory Management

  44. Inventory Management • เป็นส่วนสำคัญ ส่วนหนึ่งของระบบ Logistics • เป็นเครื่องมือในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า • เป็นเครื่องมือป้องกันการเสียโอกาสในการขายสินค้า • สินค้าคงคลังช่วยให้การผลิตดำเนินได้อย่างต่อเนื่อง

  45. ความจำเป็นในการมีสินค้าคงคลังความจำเป็นในการมีสินค้าคงคลัง • เพื่อลดต้นทุนในการผลิต • เพื่อรองรับความแปรปรวนของความต้องการ • รองรับ Lead Time ที่เกิดขึ้น • ลดต้นทุนในการจัดซื้อ • เพื่อฉวยโอกาสกรณีส่วนลดของราคาสินค้า • เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล • เพื่อตอบสนองการให้บริการลูกค้า • เพื่อให้การผลิตเป็นไปอย่างราบลื่น

  46. ประเภทของสินค้าคงคลังประเภทของสินค้าคงคลัง • วัตถุดิบ • Work In Process • F/G Inventory • Pipeline Stock • Spare parts Stock • Working Stock • Cycle Stock • Safety Stock • Speculative Stock • Seasonal Stock

  47. I Q ROP t T T T ระบบการเติมสินค้าคงคลัง Continuous Review Periodic Review Demand ไม่คงที่ปริมาณการสั่งซื้อคงที่ ช่วงเวลาในการสั่งซื้อ ไม่คงที่ Demand ไม่คงที่ปริมาณการสั่งซื้อไม่คงที่ ช่วงเวลาในการสั่งซื้อ คงที่

  48. Inventory Cost 1. ต้นทุนการถือครองสินค้า - ต้นทุนราคาสินค้า - ต้นทุนการบริการ - ต้นทุนการจัดเก็บ - ต้นทุนความเสี่ยง 2. ต้นทุนในการซื้อซ้ำ 3. Set-up Cost 4. Shortage Cost

  49. การหาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมการหาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสม วิธีในการวิเคราะห์ที่ง่ายที่สุด 1 ในการใช้สินค้าจะใช้เป็นอัตราส่วนสม่ำเสมอ 2 ปริมาณการสั่งซื้อเท่ากับ Q ทุกครั้ง 3 จะสั่งซื้อเมื่อ คงคลัง = 0 และ lead time =0

  50. I Q t การหาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสม ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ D = ปริมาณความต้องการของลูกค้า S = ค่าใช้จ่ายในการซื้อแต่ละครั้ง ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บ ปริมาณในการจัดเก็บในช่วงเวลา = Q/2 สินค้าซื้อมาในต้นทุน C ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บ I

More Related