1 / 51

Jantana Setthasawad Clinical Nurse Specialist Ramathibodi Hospital Mahidol University

อ้วนลงพุง-สัญญาณอันตราย. Jantana Setthasawad Clinical Nurse Specialist Ramathibodi Hospital Mahidol University. อดีต. ความอ้วน . คือ. สัญลักษณ์ ความมั่งมี ศรีสุข เป็นคนมีบุญวาสนา. ปัจจุบัน.

kimberly
Download Presentation

Jantana Setthasawad Clinical Nurse Specialist Ramathibodi Hospital Mahidol University

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อ้วนลงพุง-สัญญาณอันตรายอ้วนลงพุง-สัญญาณอันตราย Jantana Setthasawad Clinical Nurse Specialist Ramathibodi Hospital Mahidol University

  2. อดีต ความอ้วน คือ สัญลักษณ์ ความมั่งมี ศรีสุข เป็นคนมีบุญวาสนา

  3. ปัจจุบัน วงการแพทย์พบว่า “ความอ้วน” เป็นบ่อเกิดของสารพัดโรค และกลายเป็นปัญหาทางสุขภาพของประชาชนต่างๆทั่วโลก ดังนั้นในทุกวันนี้จึงมีแต่คนแสวงหาวิธี “การลดความอ้วน” ปี 47 VOAภาคภาษาไทย Dr. Judy Gaberding (ผอ.ของสถาบัน CDCในUSA) กล่าวว่า “อ้วน = Cause of deathอันดับ 2 ของUSA”

  4. โรคเรื้อรังที่สัมพันธ์กับโรคอ้วนโรคเรื้อรังที่สัมพันธ์กับโรคอ้วน

  5. โรคเรื้อรังที่สัมพันธ์กับโรคอ้วน โรคของระบบต่อมไร้ท่อ โรคเบาหวาน โรคอ้วนมีความเสี่ยงต่อการเป็น DM type II > คนปกติ 40 เท่า

  6. โรคถุงน้ำดี คนอ้วนจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดนิ่วในถุงน้ำดีมากเป็น 3-4 เท่า ของคนปกติ

  7. TG, LDL HDL โรคอ้วน(BMI> 30 กก/ตร.ม.) เสี่ยงที่จะเกิดโรคหัวใจ >คนปกติ โรคหัวใจขาดเลือด โรคอ้วนจะเสี่ยงต่อการเกิดHT > คนปกติ 2.9 เท่า โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง

  8. Fatty liver ผู้ป่วยที่เป็นโรคอ้วน 95% จะมีภาวะของ fatty liver ร่วมด้วย

  9. โรคไต จะมีปริมาณโปรตีนหรือไข่ขาวที่รั่วออกมาใน urine มีความสัมพันธ์กับ ความกว้างของรอบเอวที่เพิ่มขึ้น (มีความผิดปกติของหลอดเลือดแดงฝอยในเนื้อไต)

  10. ด้านเศรษฐกิจ FTA ด้านการเมือง Good Governance ด้างสังคม เทคโนโลยีที่ทันสมัย วัฒนธรรมทางตะวันตก หลั่งไหลเข้ามา (ความเป็นอยู่ + อาหารการกิน) สาเหตุของการมีน้ำหนักเกินหรืออ้วน ยุคโลกาภิวัฒน์ globalization เป็นยุคแห่งการเรียนรู้และการสื่อสารที่ไร้พรมแดน มีการเปลี่ยนแปลงต่างๆเกิดขึ้นมากมาย

  11. การปรับปรุงพฤติกรรม การควบคุมอาหาร การรักษาโรคอ้วน การออกกำลังกาย การใช้ยาและการผ่าตัด

  12. รู้ได้อย่างไรว่าอ้วน น้ำหนักที่เหมาะสมคืออะไร และควรเป็นเท่าใด อย่างไรจึงจะเรียกว่าน้ำหนักเกินหรืออ้วน เมื่อไรควรที่จะลดน้ำหนัก

  13. นิยาม (คำจำกัดความ) น้ำหนักตัวเกิน (overweight) หมายถึง น้ำหนักตัวที่ชั่งได้มากกว่าเกณฑ์มาตรฐาน อ้วน(obesity) รากศัพท์มาจากภาษาลาติน = overeat หมายถึง การมีปริมาณของไขมันอยู่ในร่างกายมากกว่าเกณฑ์ที่ควรจะเป็น

  14. น้ำหนักตัวที่เหมาะสม มีบริษัทประกันภัยชื่อ Metropolitan life Insurance Company ได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับเรื่องนี้เป็นอย่างมาก จึงทำการศึกษาและทำเป็นตารางแยกเพศหญิง-ชายรวมทั้งลักษณะของโครงกระดูก เพื่อที่จะได้ทราบว่า รูปร่างอย่างไร สูงแค่ไหน น้ำหนักเท่าใด จึงจะดูสวยงาย มีความแข็งแรงคล่องตัว และจะมีอายุที่ยืนยาว

  15. การประเมินความอ้วน

  16. วิธีที่จะทราบว่ากระดูกเล็กหรือใหญ่วิธีที่จะทราบว่ากระดูกเล็กหรือใหญ่ สามารถดูได้โดยการวัดรอบกระดูกข้อมือที่ถนัดบริเวณที่เรียกว่า “ตานกแก้ว” เพราะบริเวณนี้เป็นส่วนของกระดูกในตัวเราที่วัดได้ใกล้เคียง กับกระดูกจริงมากที่สุดเนื่องจากเป็นบริเวณกล้ามเนื้อและไขมันอยู่น้อยที่สุด หลังจากนั้นจึงนำมาเทียบกับตารางที่มีผู้ทำเอาไว้อีกทีเพื่อทราบน้ำหนักที่ควรจะเป็น

  17. ความอ้วน (obesity) เป็นเรื่องเกี่ยวกับปริมาณของไขมันในร่างกายที่มีมากเกินไป วิธีการวัดหาปริมาณไขมันในร่างกายแบบง่ายๆ คือ ~ ½ ของไขมันที่สะสมในตัวเรา จะอยู่ตามบริเวณผิวหนัง ถ้าเราวัดหาปริมาณของไขมันตามใต้ผิวหนังได้ เราก็สามารถที่จะคำนวณหาปริมาณของไขมันทั้งหมดในร่างกายได้ วิธีที่สะดวกคือ การวัดความหนาของหลืบผิวหนัง (Skin fold measurement)

  18. การวัดความหนาของหลืบผิวหนังการวัดความหนาของหลืบผิวหนัง ทำโดย ห้อยแขน ใช้หัวแม่มือ + นิ้วชี้ จับผิวหนังตรงกึ่งกลางด้านหลังของท้องแขน บีบเข้าหากัน เมื่อวัดได้แล้วนำมาเปรียบเทียบกับตารางเพื่อหาปริมาณไขมัน

  19. ช ไม่ควรเกิน 12-15% 20% ณ ไม่ควรเกิน 18-20% 25% ตารางเปรียบเทียบความหนาของหลืบผิวหนัง ความหนาของหลืบผิวหนัง ร้อยละของปริมาณไขมันโดยประมาณ (คิดเป็นนิ้ว) ชาย หญิง ¼ 5-9% 8-13% ½ 9-1313-18% ¾ 13-18% 18-23% 1 18-23% 23-28% 1 ¼ 22-27%28-33%

  20. ในร่างกายผู้ใหญ่ โดยทั่วไปจะมีจำนวนเซลล์ไขมันอยู่ ~ 75 พันล้านเซลล์ และไม่มีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของเซลล์ ไม่ว่าคนๆนั้นจะผอมลงหรือเพิ่มขึ้น จะมีก็แต่ปริมาณของไขมันในเซลล์เท่านั้นที่มากขึ้นหรือน้อยลง หาก exerciseน้อย ไม่มีกิจกรรมที่ต้องออกกำลังกาย กล้ามเนื้อจะลีบเล็กลง จะมีไขมันเข้ามาแทนที่มากขึ้น

  21. นักวิจัยในมหาวิทยาลัยร๊อกกี้ เฟลเลอร์ ทดลองให้หนูอดอาหาร 1 เดือนได้ใช้ไขมัน กล้ามเนื้อ และเนื้อเยื่อไปจนเกือบหมด Cellสมอง Cellไขมัน หนูตาย Cell ไม่ลด ไขมันเป็นพลังงานสำรองที่สำคัญของชีวิต = cell สมอง

  22. อ้วนหรือไม่ดูอย่างไร วิธีส่องกระจก (Mirror test ) โดยเปลือยกายหรือนุ่งกางเกงใน ยืนหน้ากระจกการมองดูเงาตัวเองในกระจกตั้งแต่เท้ามาถึงคอ แล้วมองจากคอลงไปที่เท้า ดูว่ามีรูปร่างอย่างไรอ้วนหรือไม่ หรือสวยดีแล้ว ลองเอี้ยวตัวมองดูเลาตัวเองอีกครั้ง

  23. หากไม่แน่ใจ ให้กางแขนออก แล้วสั่นท้องแขนดูว่าแกว่งไกวได้มากน้อยเพียงใด หากไม่แน่ใจอีก ลองกระโดดขึ้นๆลงๆ สัก 3-4 ครั้ง เพื่อดูการกระเพื่อมของทรวงอกและสะโพก ถึงตรงนี้แล้วคงสรุปได้แน่นอนว่าอ้วนหรือไม่อ้วน ถ้าอ้วน มากน้อยเพียงไร

  24. วิธีการใช้พุงเป็นเครื่องวัดวิธีการใช้พุงเป็นเครื่องวัด เป็นวิธีการวัดแบบคร่าวๆอย่างไม่เป็นทางการ ทำได้โดย ยืนตัวตรง ปลายเท้าชิดกันโดยไม่สวมรองเท้า แล้วก้มลงมองดูปลายเท้า (ก้มเฉพาะศีรษะเท่านั้นห้ามยื่นคอออกมาดู) ถ้าเห็นนิ้วหัวแม่เท้า แสดงว่า ไม่อ้วน ถ้าไม่เห็นนิ้วหัวแม่เท้า แสดงว่า อ้วน

  25. สิ่งที่ต้องคำนึง เมื่อทำการลดน้ำหนัก 1. จิตใจที่เข้มแข็ง มีความพยายามอย่างจริงจัง 2. รู้สรีระหรือกลไกของร่างกายรับมาและใช้พลังงานอย่างไร 3. รู้พลังงานที่ได้จากอาหารประเภทต่างๆ มากน้อยต่างกันอย่างไร 4. การทราบถึงเหตุแห่งความล้มเหลวในการลดน้ำหนัก

  26. สรีระวิทยา ความแตกต่างในลักษณะของมนุษย์ ทำให้นักมนุษย์วิทยา จำแนกรูปกายของคนเราด้วยวิธีต่าง ที่นิยมคือวิธีของWilliam Sheldom ที่เรียกว่า “Sheldom Somatotyping” แบ่งออกเป็น 3 พวกใหญ่ Endomorph Mesomorph Ectomorph

  27. Endomorph เรียกกันว่า “คนอ้วน” รูปร่าง กลม มน เนื้อนิ่ม สะโพก หน้าอก ไขมันกระจายอยู่ทั่วร่างกาย หน้าท้อง โคนขา กลม คอสั้น ใบหน้า คางสองชั้น

  28. Endomorph ลำตัวแม้จะดูใหญ่แต่มักมีโครงสร้างกระดูกเล็ก ทำให้ผอมได้ค่อนข้างยาก

  29. ไหล่กว้าง อกใหญ่ เพศชาย เอวเล็ก Mesomorph มีโครงกระดูกค่อนข้างใหญ่กล้ามเนื้อแข็งแรง สะโพกผาย หญิง เอวคอด ลดน้ำหนักได้ไม่ยาก

  30. Ectomorph ผอม สูง กล้ามเนื้อลีบ อก ไหล่แคบ แขน ขา และ มือเท้าผอมยาว ไขมันตามตัวมีน้อย โครงกระดูกเล็ก ไม่มีปัญหาเรื่องลดน้ำหนัก

  31. การรักษาโรคอ้วน

  32. Balance diet (50:20:30) คาร์โบไฮเดรท สำคัญที่สุดในการให้พลังงานแก่ร่างก่าย ใน 1 วันร่างกายต้องการคาร์โบไฮเดรท~ 50% คือ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด Simple carbohydrate: น้ำตาล Complex carbohydrate: ผัก, ผลไม้, พวกถั่ว และธัญพืชต่างๆ

  33. โปรตีน มีความจำเป็นต่อการซ่อมแซมร่างกายที่สึกหรอ โดยที่ร่างกายต้องการโปรตีน ~ 20% แหล่งโปรตีน เนื้อสัตว์ ถั่ว ไข่ และ น้ำนม (Skimmed milk)

  34. ไขมัน ให้แคลอรี่สูงกว่าอาหารหมู่อื่นๆ คือ 9 แคลอรี่/กรัม ในแต่ละวันไม่ควรเกิน 30 % ของอาหารที่บริโภคทั้งหมด 75 แคลอรี่/100 กรัม ต้มหรือนึ่ง 7 เท่าตัว มันฝรั่ง ทอด 562 แคลอรี่/100 กรัม

  35. การจำกัดอาหารช่วยลดน้ำหนักได้อย่างไรการจำกัดอาหารช่วยลดน้ำหนักได้อย่างไร การลดพลังงานอาหารที่กินเข้าไปวันละ 500 แคลอรี่ เมื่อครบ 7 วัน เท่ากับ 3,500 แคลอรี่ จะสามารถลดน้ำหนักลงได้ ½ กก. หากค่อยๆลดแคลอรี่อาหารวันละ 100 แคลอรี่ ใน 5 สัปดาห์จะลดน้ำหนักตัวลง ½ กก. ถ้าใช้เวลา 1 ปี จะลดน้ำหนักลงได้ ~ 4.8 กิโลกรัม

  36. ตัวอย่างอาหารที่ให้พลังงาน 100 แคลอรี่ ทองหยิบ 1 ดอก 105 แคลอรี่ เนย 2 ช้อนโต๊ะ 100 แคลอรี่ น้ำตาล 6.5 ช้อนชา 98 แคลอรี่ น้ำสลัดชนิดครีม 1 ชต. 75-100 แคลอรี่ ข้าวสวย½ ถต. หรือ 1 ทัพพี 108 แคลอรี่

  37. ความล้มเหลวในการลดน้ำหนักความล้มเหลวในการลดน้ำหนัก • ไม่สามารถควบคุมน้ำหนักตัวที่ลดลงมาแล้วให้คงที่ได้ • ผิวหนังที่เหี่ยวย่น • อ้างว่าเป็นกรรมพันธุ์

  38. ปัจจัยที่มีผลทำให้คนเราอ้วนปัจจัยที่มีผลทำให้คนเราอ้วน ปัจจัย เปอร์เซนต์ 1.กรรมพันธุ์ 10* 2.การเลี้ยงดูในวัยเด็ก 10 3.จำนวนเซลล์ไขมันในร่างกาย 10* 4.พฤติกรรมการรับประทานอาหาร 20 5.บุคลิกวิถีทางในการดำเนินชีวิต 20 6.อายุ 15* 7.การออกกำลังกาย 15 รวมเป็น 100 ยอร์จ แบล็คเบอร์น หมายเหตุ * หมายถึงสิ่งที่ไม่สามารถควบคุมได้

  39. หลักการของการลดน้ำหนัก • การลดปริมาณของไขมันในร่างกายส่วนที่มากเกิน • กินอาหารที่สามารถใช้พลังงานให้หมดในแต่ละวัน • กินให้น้อยลง และ ออกกำลังกายมากขึ้น

  40. ดัชนีมวลกาย หมายถึง ตัวชี้วัดว่าน้ำหนักคนเราอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือไม่ Healthy rangeคำนวณได้จาก ดัชนีมวลกาย = BMI = Body mass index (Weight/ht2) น้ำหนักตัวเป็นกิโลกรัม หารด้วยส่วนสูงเป็นเมตรยกกำลังสอง Dr.PramilSingh 18.5-23 กก/ม2 ในผู้หญิง 20-25 กก/ม2 ในชาย ปกติดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง

  41. สิ่งที่ Dr.Pramil Singh แนะนำว่าควรปฏิบัติ 1. ควบคุมน้ำหนักอย่างสม่ำเสมอ อย่าให้เกินพิกัดที่ควรจะเป็น 2. ควบคุมปริมาณอาหารแต่ละมื้ออย่ากินให้มากกว่าที่ใช้ไป 3.ลดอาหารประเภทไขมันอิ่มตัว 4.ออกกำลังกายสม่ำเสมอ

  42. ศูนย์ aerobic ที่ ดัลลัส ของ นพ เคนเนธ คูเปอร์ หาวิธีออกกำลังกายที่มีผลดีที่สุดต่อการลดน้ำหนัก 5 สัปดาห์ สารอาหารที่สลาย ไขมัน กล้ามเนื้อ คุมอาหารอย่างเดียว 5 3 คุมอาหาร+ออกกำลังกาย ½ ชม ก่อนอาหารเช้า 7 1 9 0 คุมอาหาร+ออกกำลังกาย ½ ชม ก่อนอาหารเย็น สรุปว่า การลดน้ำหนัก โดยการควบคุมอาหาร ควบคู่กับการออกกำลังกายในช่วงเวลาก่อนอาหารเย็นจะได้ผลดีที่สุด

  43. การควบคุมหรือลดน้ำหนักที่ดีและไม่เสียสุขภาพ หน้าที่หลักของพยาบาลคือ คอยเป็น • Morale booster • Monitor • Support ถูกวิธี มีขั้นตอน ให้กับผู้ป่วยที่มีปัญหาเพื่อให้ ค่อยเป็นค่อยไป

  44. การปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรมการปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรม

  45. การเปลี่ยนแปลงอาหารสำหรับคนอ้วน ลดไขมัน และน้ำตาล เพิ่มใยอาหาร เช่น ผักและผลไม้ จะลดการดูดซึมไขมัน และ ป้องกันการขาดวิตามิน ลดอาหารมันในระยะยาวจะต้องรับวิตามินเสริม เช่น vit A, D, E และ K, folic acid, calcium, iron และ zinc น้ำตาลทดแทน ให้ใช้น้ำตาลเทียมแทนน้ำตาล เช่น saccharin, aspartame

  46. ข้อดี ข้อจำกัด การปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรม • ปรับปรุงความคิด และตั้งเป้าหมายในการลดน้ำหนักอย่างแน่วแน่ • หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่จะทำให้น้ำหนักเพิ่ม ไม่สามารถปรับปรุงพฤติกรรมการกินอาหาร อย่างต่อเนื่องได้ในระยะยาว ช่วยให้พฤติกรรมการกินดีขึ้น เพิ่มความภูมิใจในตนเอง ดีต่อสุขภาพทั้งกายและใจ

  47. การเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารการเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร • รับประทานอาหารเฉพาะในมื้ออาหารวันละ 3 มื้อ เฉพาะที่โต๊ะอาหาร และลุกขึ้นจากโต๊ะทันทีที่อิ่ม • เลือกอาหารที่มีไขมันต่ำ เนื้อสัตว์ไม่ติดมันไม่เกิน 2 ชต. • รับประทานผัก ผลไม้ ธัญพืชที่ไม่ขัดสี • ใช้จานเล็กๆ หลีกเลี่ยงการเติมอาหารครั้งที่ 2

  48. รับประทานอาหารอย่างช้าๆรับประทานอาหารอย่างช้าๆ • ดื่มน้ำ 1 แก้วก่อนอาหาร • ดื่มน้ำมากๆทั้งในมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร อย่าวางอาหารไว้รอบๆตัว อย่าทำกิจกรรมอื่นๆระหว่างรับประทานอาหาร หางานอดิเรกทำเมื่อเวลาหิว

  49. รับประทานเนื้อปลาเป็นหลักรับประทานเนื้อปลาเป็นหลัก หลีกเลี่ยงอาหารพวก ทอด ผัด แกงกะทิ การปรุงอาหารด้วยครีมให้ใช้ อบ นึ่ง • อาหารเหลือให้เก็บทันที ไม่ใช้เครื่องจิ้มที่มีไขมันสูง

  50. สรุป การลดน้ำหนักที่ให้ได้ผลดีในระยะยาวต้องมีการลดอาหาร ควบคู่กับออกกำลังกาย และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภค ถ้าหากทำได้ยากอาจต้องใช้ยา ช่วยตามความเหมาะสมอย่างไรก็ตามสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ ผู้ที่ต้องการจะลดน้ำหนักจะต้องตั้งใจจริง

More Related