1 / 29

นาย ยุทธ พันธ์ โคตร พันธ์

ชุดการสอนเสริม ความรู้ เรื่อง คอมเพรสเซอร์ สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขา งานปิโตร เคมี วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด. นาย ยุทธ พันธ์ โคตร พันธ์. 1. 2. นักเรียนรู้จักหน้าที่และการแบ่งประเภทของเครื่องคอมเพรสเซอร์. นักเรียนรู้จักส่วนประกอบของเครื่องคอมเพรสเซอร์.

kieve
Download Presentation

นาย ยุทธ พันธ์ โคตร พันธ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ชุดการสอนเสริมความรู้ เรื่อง คอมเพรสเซอร์ สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขางานปิโตรเคมี วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด นายยุทธพันธ์ โคตรพันธ์

  2. 1 2 นักเรียนรู้จักหน้าที่และการแบ่งประเภทของเครื่องคอมเพรสเซอร์ นักเรียนรู้จักส่วนประกอบของเครื่องคอมเพรสเซอร์ วัตถุประสงค์

  3. Fan/Blower/Compressor เครื่องจักรกลลม มีหน้าที่ในการถ่ายทอดพลังงานกลให้กับอากาศ โดยการเพิ่มความดัน ความเร็ว ให้สูงขึ้นสามารถแบ่งออกตามแรงดันได้เป็น 3 ลักษณะ • พัดลม(FAN) • โบลเวอร์(BLOWER) • เครื่องอัด(COMPRESSOR)

  4. การแบ่งประเภทของเครื่องจักรกลลมการแบ่งประเภทของเครื่องจักรกลลม แบ่งตามลักษณะของความดันก๊าซที่เพิ่มขึ้นมีดังนี้ Fan => Pressure ไม่ถึง 0.03 Bar Blower => Pressure 0.03 - 3 Bar Compressor => Pressure สูงกว่า 3 Bar

  5. FAN Axial Radial - Propeller - Radial - Tubeaxial - Forward curved - Vane axial - Backward inclinrd - Air foil Fan (พัดลม) • ขับเคลื่อน Gas ปริมาณมากๆ • ระบายอากาศ • แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม • Axial Fan • Radial Fan www.themegallery.com

  6. Propeller เป็นใบพัดลมซึ่งมีใบพัดลักษณะเดียวกับใบพัดเรือติดตั้งอยู่บนกรอบหรือแกนยึดใช้ในการขับเคลื่อนอากาศจากบริเวณหนึ่ง ให้อัตราการไหลในช่วงกว้างโดยอัตราการไหลขึ้นอยู่กับขนาดใบพัด จำนวนใบพัดและ ความเร็วรอบเพิ่มความดันให้อากาศน้อยมาก สามารถนำไปใช้งานได้โดยไม่จำเป็นต้องมีท่อนำ www.themegallery.com

  7. Tube axial เป็นใบพัดลมซึ่งมีใบพัดลักษณะเดียวกับพัดลมชนิด Propeller ติดตั้งอยู่ภายในปล่องทรงกระบอก การไหลของก๊าซอยู่ในแนวเดียวกันกับแกนหมุน ลักษณะการไหลของก๊าซเป็นแบบสกรู (Screw – likemotion) เพิ่มความดันของก๊าซได้ปานกลาง ให้อัตราการไหลในช่วงกว้าง ความเร็วเชิงเส้นของก๊าซในท่ออยู่ในช่วง 10 ถึง 20 เมตรต่อวินาที ประสิทธิภาพ ค่อนข้างต่ำ (30-50%)

  8. Vaneaxial เป็นพัดลมซี่งมีใบพัดลักษณะเดียวกันกับพัดลมชนิด Propeller ชุดของใบพัด ติดตั้งอยู่ภายในปล่องทรงกระบอก มีแพนหรือครีบเป็นกระจังอยู่ทางด้านหน้าการไหลของก๊าซอยู่ในแนวเดียวกันกับแกนหมุน ลักษณะการไหลของก๊าซเป็นแบบเส้นตรง เพิ่มความดันของก๊าซได้ปานกลาง ให้อัตราการไหลในช่วงกว้าง ความเร็วเชิงเส้นของก๊าซในท่ออยู่ในช่วง 10 ถึง 20 เมตรต่อวินาที ประสิทธิภาพเชิงกลปานกลาง (40-65%) แบบลมพัดเป็นเส้นตรงเพราะมีแผ่นเวน (Vane-Axial Fan)

  9. Radial เป็นพัดลมซึ่งมีใบพัดติดตั้งอยู่ในวงล้อ ลักษณะการยึดใบพัด เป็นไปตามแนวรัศมี อยู่ในตัวถังรูปหอยโข่ง การไหลของก๊าซเป็นไปในแนวตั้งฉากกับแกนหมุน เพิ่มความดันของก๊าซค่อนข้างมาก ให้อัตราการไหลในช่วงกว้าง สามารถใช้กับก๊าซซึ่งมีอนุภาคของแข็งแขวนลอย หรือมีคุณสมบัติกัดกร่อนได้ดี นิยมใช้ในการระบายอากาศ การควบคุมอัตราการไหลทำได้ง่ายและสะดวก เครื่องเดินค่อนข้างเงียบ ประสิทธิภาพสูง (65 – 80 %) รูปพัดลมใบพัดรัศมีตรง (Radial-Blade Type)

  10. Forwardcurve เป็นพัดลมซึ่งมีใบพัดติดตั้งอยู่ในวงล้อ ลักษณะการยึดใบพัด เป็นไปตามแนวโค้งสวนกับทิศทางการหมุนของวงล้อ ให้อัตราการไหลในช่วงค่อนข้างแคบ ใช้กับก๊าซซึ่งมีอนุภาคของแข็งแขวนลอย หรือก๊าซซึ่งมีคุณสมบัติกัดกร่อนไม่ได้ เนื่องจากลักษณะใบพัดจะกักอนุภาคไว้ตามซอก ทำให้ความจุเครื่องลดลง และเสียสมดุลในการหมุน การเคลือบหรือบุผิวใบพัดทำได้ยากและไม่เป็นที่นิยมการควบคุมอัตราการไหลทำได้ยาก ประสิทธิภาพค่อนข้างสูง (55 – 75 %)

  11. BackwardInclined เป็นพัดลมซึ่งมีใบพัดติดตั้งอยู่ในวงล้อ ลักษณะการยึดใบพัด เป็นไปตามแนวโค้งตามทิศทางการหมุนของ ลักษณะการใช้งานเหมือนกับ Radial เครื่องเดินค่อนข้างเงียบและเป็นแบบไม่มีโอเวอร์โหลด (Non-overloading) ประสิทธิภาพสูง (65-80%) ใบพัดที่ซี่โค้งเข้าข้างหน้า (Sirocco) ส่งลมได้ปริมาณมาก ณ ความเร็วรอบต่ำและหมุนเงียบ

  12. Airfoil เป็นพัดลมซึ่งมีใบพัดติดตั้งอยู่ในวงล้อ ลักษณะการยึดใบพัด เป็นไปในแนวโค้งตามทิศทางการหมุนของวงล้อ ใบพัดของพัดลมชนิดนี้ จะมีลักษณะปลายโค้งเรียวแบบปีกเครื่องบิน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน การติดตั้งใบพัดและลักษณะการใช้งานเหมือนกับ Radial ใบพัดแบบแอร์ฟอยล์ ใบพัดที่ซี่โค้งลงหลัง เปลี่ยนพลังงานเป็นความกดดันได้โดยตรง www.themegallery.com

  13. - Root - Vane - Screw COMPRESSOR COMPRESSOR หรือ เครื่องอัด เป็นเครื่องที่เพิ่มความดันของอากาศหรือก๊าซ ซึ่งความดันขาเข้าของเครื่องอัดส่วนมากจะเป็นความดันบรรยากาศ เครื่องอัดที่ได้รับความดันขาเข้าสูงกว่าความดันบรรยากาศ เรียกว่า เครื่องเพิ่มความดัน (BOOSTER) และเครื่องที่ดูดก๊าซที่ความดันต่ำกว่าบรรยากาศ ไปปล่อยที่ความดันบรรยากาศ เรียกว่า เครื่องดูด (VACUUM) Compressor & Blower Dynamics PositiveDisplacement Centrifugal Reciprocating Rotary

  14. Dynamics Centrifugal การหมุนของใบพัดทำให้เกิดพลังงานจลน์ เกิดแรงเหวี่ยง ( Centrifugal Force ) ของ gas ทำให้เกิดมีความเร็วและความดันสูง

  15. Centrifugal

  16. Centrifugal ข้อดี ข้อเสีย • ใช้ไม่ดีกับ gas ที่ของแข็งปนหรือมีน้ำหนัก • ต้องใช้ความเร็วรอบสูง • Pressuredrop ในระบบมีผลกระทบต่อการทำงาน • ดูแลยุ่งยากเกี่ยวกับระบบหล่อลื่น • อายุการใช้งานยาว • Smoothflow • Gas ไม่ปนเปื้อนกับ Oil • ให้อัตราการไหลกว้าง TEXT TEXT

  17. Positive Displacement 1.Reciprocating มีลักษณะดังนี้ • เครื่องอัดอากาศแบบลูกสูบ • พลังงานขับด้วย เครื่องยนต์ , Motor • ขับเพลาข้อเหวี่ยง พาก้านลูกสูบดึงลูกสูบเคลื่อนที่เป็นจังหวะ ดูด - อัด • อัดความดันได้สูงๆ ด้วยการเพิ่ม Stage

  18. ลักษณะการทำงาน Horizontal Type www.themegallery.com

  19. ทางเข้า ทางจ่าย 2. Rotary แบ่งเป็น 3 แบบ 2.1 Rootโดยมีพู 2 อันหมุนขบกันด้วยความเร็วเท่ากัน ด้านปลายของพูจะหมุนเกือบสัมผัสกับผนังเครื่องอัด คอมเพรสเซอร์แบบใบพัดหมุน www.themegallery.com

  20. 2. Rotary ส่วนประกอบหลักของ Roots blower 1. Housing and end plate 2.Impeller 4.Bearing 3. Shaft 5. Timing gear ทางเข้า ทางจ่าย www.themegallery.com

  21. 2. Rotary 2.2 Rotaryvane มีลักษณะดังนี้ • มีใบพัดที่มีปลายเลื่อนได้ ติดอยู่กับ Rotor • แกนเพลา Rotor ติดตั้งเยื้องศูนย์ • ช่องเวนหมุนดูด gas เข้าเต็มช่องแล้วหมุนต่อไปช่องเวนจะถูกอัดให้เล็กลง จนกระทั่งหมุนไปถึงท่อปล่อย gas ที่มีความดัน และ อุณหภูมิสูงออกไป www.themegallery.com

  22. 2. Rotary 2.3 Screw มีลักษณะดังนี้ • มีเพลาอยู่ 2 แกน • Screw วางขบกันหมุนเข้าหากัน • ช่อง Screw ประกบกันหมุนแล้วเกิดการ ดูด - อัด gas ส่งไปสู่ทางออก คอมเพรสเซอร์แบบสกรู www.themegallery.com

  23. 2. Rotary 2.3 Screw Compressorมีการทำงาน ข้อดี ข้อเสีย • ไม่มี Valve ภายในตัว • ใช้ได้กับ Gas ที่ควบแน่นได้ • ให้ปริมาตรคงที่ • Gas ไม่ปนเปือนOil • ให้ปริมาตรและความดันในช่วงแคบ • LowpressureLowcapacity • ไม่เหมาะกับ corrosivegas • ให้อัตราส่วนการอัดต่ำ www.themegallery.com

  24. TK-218 TK-217 E-210 E-250 B2 B1 E-211 P3 B3 P1 E-214 P2 E-213 E-212

  25. Loop Control Booster PIC XX PIC PT PT Po TO 1rd STG 2rd STG 3rd STG Cooler Cooler Cooler PT PIC

  26. Secondary Compressor

  27. Gas Gas E-216 D/C Gas Gas Gas Gas Gas Gas Gas Gas Gas 2D 2C 1A Gas E-215 C/D 2A 2B 1B Gas Gas Gas Gas Gas E-216 A/B Gas Gas Gas E-215 B/A Gas

  28. Loop Control Primary PIC XX PIC PT PT Po TO 1rd STG 2rd STG 3rd STG Cooler Cooler Cooler PT PIC Heater

  29. สรุปเรื่องคอมเพรสเซอร์สรุปเรื่องคอมเพรสเซอร์ • 1.1 พัดลมเป่าอากาศ (Fan) ขนาดแรงดันไม่ถึง 0.03 Bar • 1.2 เครื่องเป่าลม (Blower) ขนาดแรงดันระหว่าง 0.03 - 3 Bar • 1.3 คอมเพรสเซอร์(Compressor) ขนาดแรงดันสูงกว่า 3 Bar • แบบแรงเหวี่ยง (Centrifugal) • แบบไดนามิกส์ (Dynamics)

More Related