1 / 43

Rationale ของการทำวิจัย

Rationale ของการทำวิจัย. โดย ดร. พงษ์วิทย์ บัวล้อมใบ ศูนย์อ้างอิงทางห้องปฏิบัติการโรคติดต่อนำโดยแมลง. เอกสารคำแนะนำ.

khristos
Download Presentation

Rationale ของการทำวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Rationale ของการทำวิจัย โดย ดร. พงษ์วิทย์ บัวล้อมใบ ศูนย์อ้างอิงทางห้องปฏิบัติการโรคติดต่อนำโดยแมลง

  2. เอกสารคำแนะนำ ท่านได้รับการเชิญชวนให้มารับฟังการบรรยายเรื่อง Rationalของการวิจัย วันที่ 15 กรกฎาคม 2552 การบรรยาย ในครั้งนื้ จะนำไปสู่การได้รับความเข้าใจบางส่วนในการเขียนโครงร่างวิจัยอย่างสมบูรณ์ โดยเนื้อหาบางส่วน อาจจะมีการยกตัวอย่างบางประโยคที่คล้ายคลึงกับเนื้อหาของโครงการวิจัยของบางท่าน แต่จะไม่เกิดอันตรายหรือมีการเปิดเผยชื่อท่านแต่อย่างใด แต่ท่านอาจจะเกิดอาการหงุดหงิดนิดหน่อย แต่ไม่ช้าก็จะหายไปเอง โดยท่านสามารถอนุญาติ ให้หยุดหรือข้ามบางประโยคในระหว่างบรรยาย หรือให้หยุดการบรรยายได้ แต่ท่านยังคงที่จะได้รับการตอบข้อสงสัยได้อย่างกระจ่างแจ้ง

  3. กระบวนการยินยอม กระบวนการนี้ คือกระบวนการยินยอมด้วยวาจา หากท่านตัดสินใจที่เข้าร่วมรับฟัง ขอให้ท่านแสดงการยินยอมด้วยวาจา

  4. สำนักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ www.riclib.nrct.go.th

  5. www.who.int/tdr

  6. ประโยชน์ของการทบทวนเอกสารประโยชน์ของการทบทวนเอกสาร ประชากร ค่าตัวอย่าง Error

  7. หัวข้องานวิจัยที่ดี ต้อง • 1. ใช้หลัก อรัยสัจ สี่ มีแนวคำตอบปัญหา มากกว่า 1 คำตอบ • 2. มีแนวโน้มในทางนโยบาย • 3. ขนาดของปัญหาสุขภาพ • 4. ผลกระทบด้านสังคม • 5. ไม่เคยมีผู้ทำวิจัยมาก่อน • 6. มีความหลากหลายในทางปฏิบัติ • 7. ความเป็นไปได้ในการนำไปเปลี่ยนแปลงในระดับผู้ปฏิบัติ • 8. เป็นที่สนใจของสาธารณ, สังคม และแหล่งให้ทุน

  8. หลักการกำหนดปัญหาหรือหัวข้องานวิจัยหลักการกำหนดปัญหาหรือหัวข้องานวิจัย • ไม่กว้างจนเกินไป • การจำกัดขอบเขต • โดยบุคคล • โดยระยะเวลา • โดยทางภูมิศาสตร์ • โดยสาขาการผลิต

  9. ก่อนไปหลักอริยสัจ 4 หัวข้องานวิจัยที่ดี ต้อง • อธิบายเหตุผลและความจำเป็นของการศึกษาในขอบเขตความรู้ปัจจุบัน ภายใต้กิจกรรมและวัตถุประสงค์ของงาน • ควรจะมีข้อความเกี่ยวกับ กลุ่มประชากรที่ได้รับผลกระทบ, สังคม, ผลกระทบทางด้านสุขภาพ, นโยบาย, การให้บริการ, หรือโปรเกรมที่เกี่ยวข้อง • อธิบายสมมุติฐานที่กำลังจะถูกทดสอบ และจุด end point ที่จะศึกษา เพื่อพิสูจน์สมมุติฐาน • WHO, 1991

  10. หัวข้อ วิจัยที่ดี

  11. ประเภทงานวิจัย

  12. เปรียบเทียบงานวิจัย เชิงปริมาณกับเชิงคุณภาพ

  13. คำตอบเกี่ยวกับปัญหา • คำตอบ เกี่ยวกับปัญหา • รู้ปัญหาที่ต้องวิจัย หรือหาคำตอบ โดยแยกปัญหาให้ถ่องแท้ - รู้อะไรเป็นปัญหา - รู้ว่าสิ่งนั้น ควรเป็นอย่างไร ปัญหา = ( สิ่งที่ควรเป็น - สิ่งที่เป็นอยู่) x ความกังวล/ความอนาทร • รู้อะไรเกี่ยวกับปัญหา - ความชุก/อุบัติการของปัญหา - เกิดที่ไหน - เกิดกับใคร

  14. - สาเหตุของปัญหา มีอะไรบ้าง - ปัญหานั้น พอจะแก้ไขได้ไหม - สามารถตอบปัญหานั้น ได้หมดไหม 2. ความสำคัญของปัญหา - ยังคงเป็นปัญหาหรือไม่ - ปัญหาเกิดจากคนจำนวนมาก - ปัญหาเกิดเฉพาะบางกลุ่ม - สามารถศึกษาปัญหานั้น ได้ไหม - มีทางแก้ปัญหาหรือไม่

  15. พักสายตา

  16. ประโยชน์ของการทบทวนเอกสารประโยชน์ของการทบทวนเอกสาร • ให้พื้นฐานทางทฤษฎี • ทบทวน/เชื่อมโยง สิ่งที่จะนำเสนอกับ สิ่งที่ได้ทำการศึกษาไปแล้ว • ช่วยในการออกแบบการทดลอง • ช่วยในการตั้งหัวข้อเรื่อง

  17. การตั้งคำถาม • แบ่งคำถามย่อย ออกเป็นส่วนๆ • จัดกลุ่มของคำถาม

  18. อริยสัจ 4 • ทุกข์ • สมุทัย • นิโรจ • มรรค

  19. 1. การวิเคราะห์ปัญหา • 2. 3. 4. • 1.สถานภาพของปัญหา • 2 ความคาดเคลื่อน ของสิ่งที่คาดหวัง • กับสิ่งที่เป็นจริง • 3.ตั้งปัญหาเป็นรูปคำถาม • 4. เตรียมคำตอบที่เป็นไปได้ • ไม่น้อยกว่า 1 คำตอบ

  20. 1. การวิเคราะห์ปัญหา(ต่อ) • ปัญหา(ในทางสาธารณสุข)คือ = เหตุการณ์ หรือภาวะของโรคที่เกิดขึ้น ในช่วงเวลาใด เวลาหนึ่ง ที่มี ผลกระทบ ต่อสุขภาพของคน หรือสัตว์ ( ทั้งๆที่ในช่วงนั้น มีวิธีการ หรือเทคโนโลยี ในการแก้ไขปัญหานั้นแล้ว) • สถานภาพของปัญหา ควรทำการศึกษาวิจัย ไม่ต้องทำการศึกษาวิจัย

  21. 1. การวิเคราะห์ปัญหา(ต่อ) • ปัญหา(ในทางสาธารณสุข)คือ = เหตุการณ์ หรือภาวะของโรคที่เกิดขึ้น ในช่วงเวลาใด เวลาหนึ่ง ที่มี ผลกระทบ ต่อสุขภาพของคน หรือสัตว์ ( ทั้งๆที่ในช่วงนั้น มีวิธีการ หรือเทคโนโลยี ในการแก้ไขปัญหานั้นแล้ว) • สถานภาพของปัญหา ควรทำการศึกษาวิจัย ไม่ต้องทำการศึกษาวิจัย

  22. ตัวอย่างการขบวนตั้งหัวข้อเรื่อง 1 • 1.สถานภาพของปัญหา จากผลการสำรวจ ในตำบล เกาะ ก พบว่า การสำรวจสตรี 1,000 คน ได้รับยาคุมกำเนิดมาโดยตลอด แต่ผลสำรวจ เดือนที่ผ่านมา ไม่มีสตรีผู้ใด ได้รับยาคุมกำเนิด • 2 ความคาดเคลื่อน ของสิ่งที่คาดหวัง • กับสิ่งที่เป็นจริง สตรีทั้ง 1,000 คน ควร มีคุมกำเนิด โดยการกินยา แต่จากการ สำรวจที่ผ่านมา ไม่มีสตรีคนใด มีการคุมกำเนิดเลย • 3.ตั้งปัญหาเป็นรูปคำถาม มีปัจจัยใด ที่ทำให้ สตรี ไม่ได้รับยาคุมกำเนิด • 4. เตรียมคำตอบที่เป็นไปได้ • ไม่น้อยกว่า 1 คำตอบ จากการสำรวจในเดือนที่ผ่านมา พบว่า เกิดน้ำท่วม จากฤดู มรสุม พัดพา ยาที่นำไปส่ง หายไปหมด และพบว่า ยาเก่า ที่เคยเอาไปให้ ถูกใช้หมดแล้ว คำถาม ควรทำการศึกษาวิจัยไหม ?

  23. ตัวอย่างการขบวนตั้งหัวข้อเรื่อง 2 • 1.สถานภาพของปัญหา จากผลการสำรวจ ในตำบล เกาะ ที่เกิดน้ำท่วมจากมรสุม ประจำ ต่อมา ทางราชการ ได้พัฒนาระบบการขนส่งยา โดยฤดูมรสุม จะมีเรือเร็วนำของไปส่งยังจุดศูนย์กลางรับยาของตำบล แต่พบว่า ถึงแม้ได้ดำเนินมาตรการนี้ แล้ว สตรีเหล่านั้น ยังคงไม่ได้รับยาอยู่ดี • 2 ความคาดเคลื่อน ของสิ่งที่คาดหวัง • กับสิ่งที่เป็นจริง ระบบการขนส่ง น่าจะทำให้สตรี ได้รับยาอย่างต่อเนื่อง แต่เหตุการณ์ ไม่ได้เป็นเช่นนั้น • 3.ตั้งปัญหาเป็นรูปคำถาม ทำไมระบบการขนส่ง ถึงไม่สามารถนำยาไปให้สตรี เหล่านั้นได้ • 4. เตรียมคำตอบที่เป็นไปได้ • ไม่น้อยกว่า 1 คำตอบ • การสั่งซื้อยา ล่าช้า ไม่ได้นำมาส่ง ก่อนฤดูมรสุม เกิดขึ้น • เรือเก่า • เจ้าหน้าที่แก่ • เจ้าหน้าที่ยังไม่เข้าใจ ขั้นตอน/ วิธีการ ของมาตรการนี้ คำถาม ควรทำการศึกษาวิจัยไหม ?

  24. ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหา 1 • 1.สถานภาพของปัญหา จากผลการสำรวจ ในตำบล เกาะ พบว่า มี 2 หมู่บ้าน มีอัตราการใช้ยาคุมกำเนิด แตกต่างกันมาก ทั้งๆที่ ทั้ง 2 หมู่ ได้รับมาตรการ การส่งยา เหมือนๆ กัน จึงทำให้อัตราการเกิด แตกต่างกันมาก ( 80 % และ 20 % ตามลำดับ) • 2 ความคาดเคลื่อน ของสิ่งที่คาดหวัง • กับสิ่งที่เป็นจริง มาตรการ การขนส่ง น่าจะทำให้ทั้ง 2 หมู่ มีอัตราการใช้ยาคุม พอๆ กัน แต่เหตุการณ์ หาเป็นเช่นนั้นไม่ • 3.ตั้งปัญหาเป็นรูปคำถาม มีปัจจัยใดทำให้ อัตราการใช้ยาคุมกำเนิด ระหว่าง 2 หมู่บ้านนี้ แตก ต่างกัน • 4. เตรียมคำตอบที่เป็นไปได้ • ไม่น้อยกว่า 1 คำตอบ • ประชากร ในสองหมู่บ้าน มีความแตกต่างกันทางด้านอาชีพ ประเพณี • ศาสนา และสังคม ระยะทางระหว่างหมู่บ้าน ถึงจุดรับยา จำนวนโรง • เรียน สอ ไฟฟ้า น้ำประปา • มีความแตกต่างกันในเรื่อง ระบบค้ำจุนการใช้ยาคุมกำเนิด เช่น ความ • เข้มแข็งของผู้นำหมู่บ้าน การมีศูนย์แม่และเด็ก การมีหน่วยงาน NGO • ไปให้การช่วยเหลือ คำถาม ควรทำการศึกษาวิจัยไหม ?

  25. ฝึกสมอง 1

  26. ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหา 2 • 1.สถานภาพของปัญหา คนอีสาน เป็นพยาธิ ใบไม้ตับการมาก • 2 ความคาดเคลื่อน ของสิ่งที่คาดหวัง • กับสิ่งที่เป็นจริง มีการรณรงค์ให้คนกินปลาสุก แต่ หลายคนยังกินปลาดิบอยู่ • 3.ตั้งปัญหาเป็นรูปคำถาม ทำไมคน จึงกินปลาดิบ • 4. เตรียมคำตอบที่เป็นไปได้ • ไม่น้อยกว่า 1 คำตอบ • ความไม่รู้ว่า กินปลาดิบแล้วเป็นพยาธิใบไม้ตับ • ความเคยชินในรสชาติ • ความเคยชินในการปรุง • ความสะดวกในการปรุง คำถาม ควรทำการศึกษาวิจัยไหม ?

  27. ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหา 2 • 1.สถานภาพของปัญหา คนอีสาน เป็นพยาธิ ปากขอ • 2 ความคาดเคลื่อน ของสิ่งที่คาดหวัง • กับสิ่งที่เป็นจริง ถ่ายในหลุมขุดลงไป 2 ศอก และคนยังพยาธิปากขอ • 3.ตั้งปัญหาเป็นรูปคำถาม พยาธิขึ้นมาไชเท้าคนได้อย่างไร • 4. เตรียมคำตอบที่เป็นไปได้ • ไม่น้อยกว่า 1 คำตอบ • พยาธิไชใต้ดิน/ผิวดิน • พยาธิแนวตั้ง/แนวนอน • พยาธิชอบไปหาที่ร้อนๆ • พยาธิชอบว่ายทวนกระแสน้ำ คำถาม ควรทำการศึกษาวิจัยไหม ?

  28. สมมุติฐานของการเกิดปัญหาที่มีเหตุผลสมมุติฐานของการเกิดปัญหาที่มีเหตุผล ผลกระทบ สาเหตุจริง ปัญหา สาเหตุจริง สาเหตุต้น ผลกระทบ สาเหตุต้น สาเหตุจริง เชิดลาภ วสุวัต 1983

  29. ฝึกสมอง 2

  30. พักสายตา

  31. การสร้างสมมุติฐาน • เป็นการคาดเดา โดยต้องมีข้อมูลหรือความรู้สนับสนุน แบ่งเป็น • การตั้งจากความแตกต่าง ( Method of Difference) หมู่บ้าน ก มีอัตราการใช้ยาคุม สูงกว่าหมู่บ้าน ข อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ • การตั้งจากความเห็นพ้อง (Method of Agreement) หมู่บ้าน ก และ ข มีอัตราการใช้ยาคุมเท่าๆกัน • การตั้งจากหลักอุปมา อุปมัย ( Method of Analogy) อัตราการใช้ยาคุมต่ำ น่าจะเกิดจาก จำนวนโรงเรียน มีไม่เท่ากัน • การตั้งจากความสัมพันธ์ของข้อมูล ( Method of Concomitant Variation) การมีอัตราการคุมกำเนิดไม่เท่ากัน น่าจะเกิดจาก ระยะทางจากหมู่บ้าน ถึงจุดศูนย์รับ ไม่เท่ากัน

  32. การกำหนดวัตถุประสงค์ เพื่อจะบอกทิศทาง บอกตัวแปร ตัวอย่าง และลักษณะของการวิจัย วัตถุประสงค์ทั่วไป คือเป็นปัญหากว้างๆ ครอบคลุมปัญหาย่อยซึ่งจะเป็น วัตถุประสงค์ ย่อย คือ การนำเอาวัตถุประสงค์ทั่วไป หรือปัญหาใหญ่นั้น มาแยกออกเป็นปัญหาย่อยๆ เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างสมมุติฐาน การ เก็บข้อมูล หรือการวิเคราะห็ข้อมูลนั่นเอง โดยจะเขียนเป็นประโยคบอก เล่า หรือคำถามก็ได้

  33. Malaria

  34. DF/DHF Dengue

  35. Filariasis& Leishmaniasis

  36. พักสายตา

  37. The end ขอขอบคุญทุกๆท่านที่อดทนฟังจนจบ

More Related