1 / 65

…………..

ค่าใช้จ่ายเดินทาง ไปราชการ. …………. ฉบับปรับปรุงล่าสุด. ค่าใช้จ่ายเดินทาง. กฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการพ.ศ. 2526 ปรับปรุงฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553 และ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2554. ลักษณะการเดินทาง. ไปราชการชั่วคราว

Download Presentation

…………..

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ค่าใช้จ่ายเดินทาง ไปราชการ ………….. ฉบับปรับปรุงล่าสุด

  2. ค่าใช้จ่ายเดินทาง กฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการพ.ศ. 2526ปรับปรุงฉบับที่ 8พ.ศ. 2553 และ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554

  3. ลักษณะการเดินทาง ไปราชการชั่วคราว ไปราชการประจำ กลับภูมิลำเนา ไปราชการต่างประเทศชั่วคราว ไปราชการประจำต่างประเทศ 1 2 3 4 5

  4. ลักษณะการเดินทาง ไปราชการชั่วคราว • ระยะเวลาสั้น มีกำหนดแน่นอน • เนื้องานเสร็จสิ้น เมื่อครบกำหนดเวลา ไปราชการประจำ • มีอัตรา ณ สำนักงานแห่งใหม่ • ปฏิบัติงานตามที่ได้รับบรรจุ(สอบเลื่อนระดับ) การไปราชการลักษณะประจำ • เจตนาให้ไปอยู่นาน/ตลอดไป • ไม่มีอัตราว่าง • ลักษณะงานไม่สิ้นสุด/มีระยะเวลานาน

  5. การเดินทางไปราชการในประเทศชั่วคราว การเดินทางไปราชการในประเทศชั่วคราว การไปปฎิบัติราชการชั่วคราวนอกที่ตั้งสำนักงาน ไปสอบคัดเลือก หรือรับการคัดเลือก ไปช่วยราชการ/รักษาการในตำแหน่ง/รักษาราช การแทน ข้าราชการประจำต่างประเทศมาราชการในไทย การเดินทางข้ามแดนชั่วคราวตามข้อตกลงระหว่าง ประเทศ การไปปฎิบัติราชการชั่วคราวนอกที่ตั้งสำนักงาน ไปสอบคัดเลือก หรือรับการคัดเลือก ไปช่วยราชการ/รักษาการในตำแหน่ง/รักษาราช การแทน ข้าราชการประจำต่างประเทศมาราชการในไทย การเดินทางข้ามแดนชั่วคราว

  6. บุคคลผู้มีสิทธิ • ข้าราชการ มี 8 ประเภท • ข้าราชการการเมือง เทียบเท่าระดับข้าราชการ • บุคคลภายนอก ที่มอบหมายให้มาช่วยราชการ

  7. การเทียบตำแหน่งบุคคลภายนอกหรือข้าราชการการเทียบตำแหน่งบุคคลภายนอกหรือข้าราชการ ประเภทอื่นเป็นอำนาจของกระทรวงการคลัง เพื่อใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการเบิกค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไปราชการตามพระราชกฤษฎีกา ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 (มาตรา 7)

  8. หลักเกณฑ์การเทียบตำแหน่งบุคคลภายนอก ซึ่งมิได้เป็นข้าราชการ 1. มีกฎหมายอื่นกำหนดสิทธิไว้สูงกว่าระดับที่ กค. เทียบ ให้ใช้สิทธิใน ระดับตำแหน่งที่กฎหมายนั้นกำหนด 2. ตำแหน่งนอกเหนือจากที่ กค. ได้เทียบไว้แล้วให้อยู่ในดุลพินิจของ หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ โดยคำนึงถึง ตำแหน่ง หน้าที่ปัจจุบัน คุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และ ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย 3. หากต้องการเบิกสูงกว่าระดับที่ กค. ได้เทียบไว้ ให้ขอตกลงกับ กค.

  9. การเทียบตำแหน่งบุคคลภายนอกการเทียบตำแหน่งบุคคลภายนอก ที่ กค.0406.6/ว104 ลว.22 กย.51 • เทียบตำแหน่งสำหรับ • ข้าราชการการเมืองและ • ข้าราชการรัฐสภาฝ่าย • การเมือง • พนักงานรัฐวิสาหกิจ • คณะสื่อมวลชล • ลูกจ้าง • พนักงานราชการ ที่ กค. 0406.6/ว105 ลว.22 กย.51 • เทียบตำแหน่งสำหรับ • ข้าราชการท้องถิ่น • ผู้ดำรงตำแหน่ง • ทางการเมือง • ของท้องถิ่น

  10. ค่าใช้จ่ายเดินทาง ปรับปรุงฉบับที่ 7 ม. 8 สิทธิการเบิกค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ ได้รับอนุมัติให้เดินทาง/ออกจากราชการ ผู้มีอำนาจอนุมัติ : อนุมัติระยะเวลาก่อน/หลัง ตามความจำเป็น/เหมาะสม ม.8/1 ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ลากิจ ลาพักผ่อน ต้องขออนุมัติระยะเวลาดังกล่าวในการเดิน ทางด้วย

  11. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางชั่วคราวค่าใช้จ่ายในการเดินทางชั่วคราว เบี้ยเลี้ยงเดินทาง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่ายเนื่อง จากการเดินทางไปราชการ

  12. ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง • ประเภท ก • เดินทางข้ามเขตจังหวัด • เดินทางจากอำเภออื่นเข้าอำเภอเมือง ยกเลิก ประเภท ข • เดินทางในท้องที่ต่างอำเภอใน จ.ว.เดียวกัน • เดินทางในท้องที่อำเภอที่เป็นที่ตั้งสำนักงาน • เดินทางในเขต กทม. ที่ตั้งสำนักงาน

  13. ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง (เหมาจ่าย)

  14. ข้อสังเกตตามกฤษฎีกา ฯ ม.12 ได้รับเบี้ยเลี้ยงประจำแล้ว ให้งดเบิกเบี้ย เลี้ยงเดินทางไปราชการอีก ม.18การเบิกเบี้ยเลี้ยงไปราชการเรื่องหนึ่งเรื่องใดใน สถานที่ปฏิบัติราชการแห่งเดียวกัน ให้ได้เพียงไม่เกิน 120 วัน ถ้าเกินให้ขออนุมัติปลัดฯ ทั้งนี้ให้พิจารณา ถึงความ จำเป็นและประหยัด

  15. การนับเวลา ( ม. 16) • ออกจากที่อยู่หรือที่ทำงานปกติจนกลับถึงที่อยู่หรือ • ที่ทำงานปกติ • กรณีพักแรม 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษเกิน 12 ชม. • นับเป็น 1 วัน • กรณีไม่พักแรมเศษเกิน 12 ชม. เป็น 1 วัน • เกิน 6 ชม. นับเป็นครึ่งวัน • กรณีลากิจ/พักผ่อน ก่อนปฏิบัติราชการให้ • นับตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการ • กรณีลากิจ/พักผ่อน หลังเสร็จสิ้นปฏิบัติราชการ • ให้นับถึงสิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ

  16. ค่าเช่าที่พัก (ม.17) ค่าเช่าที่พัก หมายถึง ค่าเช่าห้องพักในโรงแรม หรือที่พักแรม • ห้ามเบิก กรณี • พักในยานพาหนะ • ทางราชการจัดให้ ท้องที่มีค่าครองชีพสูง/แหล่งท่องเที่ยว หัวหน้าส่วน ราชการอนุมัติเบิกเพิ่มได้ไม่เกิน 25% เบิกเพิ่มต้อง พักจริงมีหลักฐานแสดง

  17. ค่าเช่าที่พัก เงื่อนไข จ่ายจริง C8 ลงมาให้พักคู่ เว้นแต่ไม่เหมาะสมหรือมีเหตุจำเป็น กรณีไม่เลือกจ่ายจริงให้เลือกเหมาจ่ายได้ กรณีเดินทางเป็นหมู่คณะให้เลือกเบิก ในลักษณะเดียวกันทั้งคณะ

  18. ค่าพาหนะ • ค่าโดยสาร ค่ายานพาหนะรับจ้าง • ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าระวางบรรทุก • ค่าจ้างคนหาบหามสิ่งของของผู้เดินทาง นิยามพาหนะประจำทาง บริการทั่วไปประจำ เส้นทางแน่นอน ค่าโดยสาร ค่าระวางแน่นอน

  19. หลักเกณฑ์การเบิกค่าพาหนะประจำทาง ปกติ ให้ใช้ยานพาหนะประจำทางเบิกเท่าที่จ่ายจริงและประหยัด รถไฟ เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ประเภทรถด่วน ด่วนพิเศษ ชั้นที่ 1 นั่งนอนปรับอากาศ (บนอ.ป.) เบิกได้เฉพาะ ระดับ 6 ขึ้นไป ยกเว้น ใหม่ 5-6 อยู่ในบล็อกเดียวกันในตำแหน่งประเภททั่วไป ได้สิทธิเท่าระดับ 6

  20. หลักเกณฑ์การจ่ายค่าพาหนะหลักเกณฑ์การจ่ายค่าพาหนะ รับจ้าง (TAXI) • ไม่มียานพาหนะประจำทาง • มีพาหนะประจำทางแต่มีเหตุจำเป็นและต้องชี้แจง • ระดับ 6 ขึ้นไป • ไป-กลับระหว่างที่พักหรือที่ทำงานกับสถานี/ • สถานที่จัดยานพาหนะ • ไป-กลับระหว่างที่พักกับที่ทำงานในเขต • จังหวัดเดียวกัน (ยกเว้น การสอบคัดเลือก) • ไปราชการในเขต กทม. • ระดับ 5ต้องมีสัมภาระ 1 2 3 4 ใหม่ 5-6 อยู่ในบล็อกเดียวกันในตำแหน่งประเภททั่วไป ได้สิทธิเท่าระดับ 6

  21. ค่าพาหนะรับจ้างข้ามเขตจังหวัด • ระดับ 6 ขึ้นไปเบิกได้ กรณีไป-กลับ ระหว่างที่พัก/ที่ทำงาน • กับสถานี/สถานที่จัดยานพาหนะ • ภายในจังหวัดเดียวกันไม่กำหนดวงเงิน • ข้ามเขตจังหวัด • เขตติดต่อ หรือผ่านกทม. เที่ยวละไม่เกิน 600 บาท • เขตติดต่อ จังหวัดอื่น เที่ยวละไม่เกิน 500 บาท

  22. รถโดยสารประจำทาง

  23. พาหนะส่วนตัว • ต้องได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาก่อนเดินทาง • เบิกค่าน้ำมันชดเชยเหมาจ่าย • รถยนต์ส่วนบุคคล กม. ละ 4 บาท • รถจักรยานยนต์ กม. ละ 2 บาท การคำนวณระยะทาง ให้คำนวณตามระยะทาง ของกรมทางหลวงในระยะสั้นและตรง/ถ้าไม่มี ให้ผู้เดินทางรับรอง

  24. เครื่องบิน • ระดับ 6 ขึ้นไป ชั้นประหยัด • ระดับ 9 ขึ้นไป ชั้นธุรกิจ • ระดับ 10 ขึ้นไป ชั้นหนึ่ง • ระดับ 5 ลงมา กรณีจำเป็นเร่งด่วน ชั้นประหยัด • ไม่เข้าหลักเกณฑ์ ข้อ 1 และ ข้อ 2 ให้เบิกภาคพื้นดิน • กรณีรับเสด็จตามเสด็จส่งเสด็จหากจำเป็นเบิกสูงกว่าสิทธิให้ขออนุมัติปลัดกระทรวง • กรณีอื่นที่มีความจำเป็นต้องโดยสารชั้นที่สูงกว่าสิทธิให้ขอ • ตกลงกระทรวงการคลัง

  25. หลักฐานการเบิกค่าโดยสารเครื่องบินหลักฐานการเบิกค่าโดยสารเครื่องบิน • กรณีมีหนังสือให้บริษัทออกบัตรโดยสารให้ก่อน • ให้ใช้ใบแจ้งหนี้เป็นหลักฐานในการเบิกเงิน • 2. กรณีจ่ายเป็นเงินสด ให้ใช้หลักฐาน • ใบเสร็จรับเงิน และ • กากบัตรโดยสาร (Boarding Pass) • 3. กรณีซื้อ E-Ticket ให้ใช้ใบรับเงินที่แสดง • รายละเอียดการเดินทาง (Itinerary Receipt)

  26. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นในการเดินทางค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นในการเดินทาง จำเป็นต้องจ่าย หากไม่จ่าย ไม่อาจเดินทาง ถึงจุดหมาย ไม่มี กม. ระเบียบ ข้อบังคับ กำหนดไว้เฉพาะ ไม่ใช่ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเนื้องานที่ปฏิบัติ ซึ่งถือว่าเป็น คชจ. ในการบริหารงานของส่วนราชการ เช่น ค่าปะยาง ค่าวีซ่า พาสปอตส์

  27. กรณีผู้ดำรงตำแหน่งระดับ 8 ลงมา และผู้ดำรงตำแหน่งระดับ 9 ส่วนราชการสามารถกำหนดหลักเกณฑ์ อัตราค่าเช่าที่พักเหมาจ่ายต่ำกว่าที่กำหนดได้ โดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 6 แห่งพระราช กฤษฎีกาค่าใช้จ่ายเดิน ทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และแก้ไขเพิ่ม

  28. เดินทางไปราชการประจำ ประจำต่างสำนักงาน / รักษาการในตำแหน่ง รักษาราชการเพื่อดำรงตำแหน่งใหม่ ณ สำนักงานใหม่ ประจำสำนักงานเดิมในท้องที่ใหม่ (ย้ายสำนักงาน) ไปปฏิบัติงาน ไปช่วยราชการ เกิน 1 ปีขึ้นไป ไปช่วยราชการที่ไม่อาจกำหนดเวลาสิ้นสุด/ไม่ถึง 1 ปี แต่สั่งให้อยู่ราชการต่อเวลาที่ครบ 1 ปีขึ้นไป เป็นการเดินทางไปราชการประจำ

  29. ผู้เดินทางไปราชการประจำ ที่สำนักงานแห่งใหม่ ตามคำร้องขอของตนเอง ไม่มีสิทธิเบิกค่าใช้จ่าย ในการเดินทางไปราชการ

  30. เดินทางไปราชการประจำ สิทธิในการเบิก • ตนเอง • บุคคลในครอบครัว • คู่สมรส • บุตร • บิดามารดา ( ของตนเอง + คู่สมรส ) • ผู้ติดตาม • ทั่วไปปฏิบัติงานชำนาญงานวิชาการ • ปฏิบัติการไม่เกิน 1 คน (ซี6ลงมา) • ประเภทระดับตำแหน่งอื่นๆไม่เกิน 2 คน • (ซี 7 ขึ้นไป) • * ไปประจำต่างสังกัด เบิกจากสังกัดใหม่

  31. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปประจำ เบี้ยเลี้ยงเดินทาง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่าย ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัวเบิกเหมาจ่าย

  32. ค่าที่พักในท้องที่ประจำแห่งใหม่ค่าที่พักในท้องที่ประจำแห่งใหม่ • กรณีไม่อาจเข้าบ้านพัก/บ้านเช่า • เบิกได้ไม่เกิน 7 วัน (เกินขออนุมัติหน.ส่วน) • ได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา • กรณีโอนย้ายต่างสังกัด • สังกัดเดิมอนุมัติ • สังกัดใหม่รับรองข้อเท็จจริง • ไม่ใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน

  33. ค่าพาหนะ • ตนเอง • บุคคลในครอบครัว • เดินทางพร้อมผู้มีสิทธิ • เบิกอัตราเดียวกับผู้มีสิทธิ • ผู้ติดตามเบิกเท่าระดับต่ำสุด • ไม่ไปพร้อมผู้มีสิทธิ • ชี้แจงเหตุผล • ขออนุมัติก่อนเดินทาง • ผลัดเดินทางไปเกิน 1 ปี

  34. ค่าใช้จ่ายเดินทางกลับภูมิลำเนาค่าใช้จ่ายเดินทางกลับภูมิลำเนา • ค่าเช่าที่พัก • ค่าพาหนะ • ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว ภูมิลำเนาเดิม ท้องที่เริ่มรับราชการครั้งแรก หรือกลับเข้ารับราชการใหม่ ท้องที่อื่นที่ไม่ใช่ภูมิลำเนาและมี ค่าใช้จ่ายสูงกว่า หน.ส่วนราช การอนุมัติ

  35. สิทธิการเบิก • ออกจากราชการ, เลิกจ้าง • ตาย (สิทธิตกแก่ทายาท) • ถูกสั่งพักราชการโดยไม่รอผลสอบสวน • ใช้สิทธิเบิกไปท้องที่อื่น • เดินทางและขนย้ายภายใน 180 วัน • นับแต่ออก,เลิกจ้าง,ตาย • ( ถ้าเกินตกลง กระทรวงการคลัง )

  36. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับศพ ปรับปรุงฉบับที่ 8 ผู้เดินทางถึงแก่ความตายระหว่างเดินทางไปราชการ กรณีส่งศพกลับ ให้เบิกค่าพาหนะและค่าใช้จ่ายอื่น ได้เท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินเส้นทาง ท้องที่รับราชการท้องที่ที่ถึงแก่ความตาย

  37. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับศพ • ค่าพาหนะเดินทางไปปลงศพ ไป-กลับ • เบิกได้สำหรับคู่สมรส บุตร บิดา มารดาของผู้ตาย ไม่เกินสามคน เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงตามสิทธิของผู้ตาย เว้นแต่ ผู้เดินทางเป็นผู้มีสิทธิ เบิกค่าใช้จ่ายเดินทาง สูงกว่าสิทธิของผู้ตาย ให้เบิกตามสิทธิของผู้นั้นไม่เกินเส้นทางท้องที่ที่รับราชการท้องที่ที่ถึงแก่ความตาย • ถ้าเบิกให้ผู้จัดการศพ เบิกได้เพียงคนเดียว

  38. กรณีทำหน้าที่เลขานุการ ม.28 • ทำหน้าที่เลขานุการ หัวหน้าคณะ ระดับ 9 ขึ้นไป • จำเป็นต้องเดินทางพร้อมกัน • เบิกค่าพาหนะได้เท่ากับผู้บังคับบัญชา • พักแรมที่เดียวกัน เบิกได้ตามสิทธิ/จ่ายจริง • ในอัตราต่ำสุดของที่พักนั้น แต่ไม่เกินสิทธิ • ของผู้บังคับบัญชา • เลขานุการมีหลายคน เบิกตามอัตราข้างต้นได้ • เพียงคนเดียว นอกนั้นเบิกตามสิทธิ

  39. ลูกจ้าง • จ้างจากเงินงบประมาณ • ยกเว้น ชาวต่างประเทศที่มีสัญญาจ้าง • เทียบตำแหน่ง • หมวดแรงงาน/กึ่งฝีมือ = ระดับ 1 • ฝีมือพิเศษ ระดับต้น = ระดับ 2 • ฝีมือพิเศษ ระดับกลาง สูง เฉพาะ = 3 ลูกจ้างที่เคยมีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายเท่ากับ ซี 3 ก่อน 1 เมย.35 ให้ใช้สิทธิตามนั้น

  40. พนักงานราชการ • กลุ่มงานบริการ / เทคนิค = ซี 1-2 • กลุ่มงานบริหารทั่วไป = ซี 3 – 8 • กลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะ/ • เชี่ยวชาญเฉพาะ = ซี 3 – 8 • ยกเว้น • ผู้ได้รับค่าตอบแทนอัตราสูงสุด = ซี 9

  41. พนักงานราชการ ใหม่ • กลุ่มงานบริการ / เทคนิค = ระดับปฏิบัติงาน • กลุ่มงานบริหารทั่วไป • เริ่มรับราชการ-9 ปี = ระดับปฏิบัติการ • 10-17 ปี = ระดับชำนาญการ • 17 ปี ขึ้นไป = ชำนาญการพิเศษ

  42. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างปะเทศค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างปะเทศ ลักษณะการเดินทาง • ไปราชการชั่วคราว • ไปราชการประจำ • กลับภูมิลำเนา

  43. การเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราวการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว • ข้าราชการประจำในไทยเดินทางไปต่างประเทศ เพื่อ ประชุม เจรจาธุรกิจ ดูงาน ตรวจสอบบัญชี ปฏิบัติหน้าที่อื่นตาม ความจำเป็น • ประจำต่างประเทศ ไป ณ ที่ใด ๆ ในต่างประเทศ หรือ มายังไทยเฉพาะเวลาที่เดินทางอยู่นอกประเทศไทย • ประจำต่างประเทศไปช่วยราชการ รักษาการในตำแหน่ง รักษาราชการแทนต่าง ส.น.ง. ในต่างประเทศเฉพาะเวลาจาก ที่พักเดิมถึงที่พัก ส.น.ง. แห่งใหม่

  44. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราวค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว • เบี้ยเลี้ยงเดินทาง / ค่าอาหาร • ค่าเช่าที่พัก • ค่าพาหนะ • ค่ารับรอง • ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นเนื่องในการเดินทางไปราชการ • ค่าเครื่องแต่งตัว

  45. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง (เหมาจ่าย) • ซี 8 ลงมา เหมาจ่ายไม่เกิน 2,100 บาท / วัน • ซี 9 ขึ้นไป เหมาจ่ายไม่เกิน 3,100 บาท / วัน

  46. กรณีไม่เบิกเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายกรณีไม่เบิกเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย • ค่าอาหาร –เครื่องดื่ม • ภาษี บริการที่โรงแรมร้านค้าเรียกเก็บ • ค่าทำความสะอาดเสื้อผ้า (เกิน 7 วัน) • เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 500 บาท/วัน • การเบิกเบี้ยเลี้ยงเท่าที่จ่ายจริงแต่ละวัน ไม่เกิน • อัตรากำหนด หากเศษเหลือจะนำมาสมทบเบิกจ่ายวันต่อไป • ไม่ได้ • ค่าใช้สอยเบ็ดเตล็ด เหมาจ่ายไม่เกิน 500 บาท/วัน เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 4,500 บาท/วัน

  47. การนับเวลาคำนวณเบี้ยเลี้ยงการนับเวลาคำนวณเบี้ยเลี้ยง • ข้าราชการประจำต่างประเทศ • ตั้งแต่ออกจากที่อยู่หรือที่ทำงานจนกลับ • ถึงที่อยู่หรือที่ทำงานปกติ • มาราชการชั่วคราวในไทย ไม่รวมช่วงเวลา • ที่อยู่ในไทย • ข้าราชการประจำในไทย • ตั้งแต่ประทับตราหนังสือเดินทางออกจนถึง • ทับตราฯเข้าไทย • พักแรมนับ 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชม. เป็น • 1 วัน/ไม่พักแรม(เพิ่ม) เศษเกิน 6 ชม. = ครึ่งวัน

  48. การนับเวลาคำนวณเบี้ยเลี้ยง (ต่อ) • กรณีลากิจ/ลาพักผ่อน ก่อนปฏิบัติราชการ ให้นับตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการ • กรณีลากิจ/ลาพักผ่อน หลังเสร็จสิ้นปฏิบัติราชการ ให้นับถึงสิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ

  49. หลักเกณฑ์การเบิกค่าเช่าที่พักหลักเกณฑ์การเบิกค่าเช่าที่พัก • จำเป็นต้องพักแรม • จ่ายจริง • ซี 8 ลงมา พัก 2 คน/ห้อง • ข้อห้าม • พักในยานพาหนะ • ทางราชการจัดที่พักให้ • พักบ้านตนเอง / คู่สมรส/ญาติพี่น้อง

  50. อัตราค่าเช่าที่พัก บาท:วัน ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส รัฐเซีย สวิส อิตาลี มีสิทธิเบิกเพิ่มจากประเภท ก อีก 40%

More Related