1 / 14

สิทธิที่จะได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ

พระราชกฤษฎีกา ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และ ที่ แก้ไขเพิ่มเติม และ ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป ราชการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. สิทธิที่จะได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ. ตั้งแต่วันที่ได้รับอนุมัติเดินทาง ออกจากราชการ

keola
Download Presentation

สิทธิที่จะได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติมและระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

  2. สิทธิที่จะได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการสิทธิที่จะได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ตั้งแต่วันที่ได้รับอนุมัติเดินทาง ออกจากราชการ ผู้มีอำนาจอนุมัติ : อนุมัติระยะเวลาเดินทางล่วงหน้า/หลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการตามความจำเป็น หากผู้เดินทางได้รับอนุมัติให้ลากิจ/ลาพักผ่อนก่อนหรือหลังการเดินทาง ต้องขออนุมัติระยะเวลาดังกล่าวในการเดินทางด้วย

  3. การเทียบสิทธิ : ลูกจ้าง จ้างจากเงินงบประมาณ ยกเว้น ชาวต่างประเทศที่มีสัญญาจ้าง เทียบตำแหน่ง “ลูกจ้างทุกประเภท = ประเภททั่วไปปฎิบัติงาน” อ้างถึง หนังสือที่ กค0406.6/ว 104ลว22 ก.ย. 51

  4. การเทียบสิทธิ : พนักงานราชการ กลุ่มงานบริการ/เทคนิค = ประเภททั่วไปปฏิบัติงาน กลุ่มงานบริหารทั่วไป/ วิชาชีพเฉพาะ เมื่อรับราชการ –9 ปี ประเภทวิชาการปฏิบัติการ 10 - 17 ปี ประเภทวิชาการชำนาญการ 17 ปีขึ้นไป ประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษ

  5. การเทียบสิทธิ : พนักงานราชการ (ต่อ) กลุ่มงานเชี่ยวชาญเฉพาะ เมื่อรับราชการ –4 ปี ประเภทวิชาการปฏิบัติการ 5 - 10 ปี ประเภทวิชาการชำนาญการ กลุ่มงานเชี่ยวชาญพิเศษ = ประเภทวิชาการเชี่ยวชาญ ยกเว้น ผู้ที่ได้รับค่าตอบแทนอัตราสูงสุด = ประเภทวิชาการเชี่ยวชาญ

  6. การเทียบสิทธิ : สื่อมวลชน หัวหน้าข่าวหรือบรรณาธิการคอลัมนิสต์ = ประเภทวิชาการชำนาญการ นักข่าวหรือนักประชาสัมพันธ์ = ประเภทวิชาการปฏิบัติการ

  7. การเทียบสิทธิ การเทียบตำแหน่งข้าราชการส่วนท้องถิ่นและผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง (ที่ กค0406.6/ว 105 ลว22 ก.ย. 51) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พนักงานส่วนท้องถิ่นในสายงานนักบริหารงาน ข้าราชการอัยการ ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ (ที่ นร1008/ว 30 ลว15 ก.ย. 53 เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเทียบตำแหน่งอย่างอื่นเท่ากับการดำรงตำแหน่งฯ)

  8. การนับเบี้ยเลี้ยง การเดินทางล่วงหน้า/เดินทางกลับทีหลัง กรณีผู้เดินทางมีเหตุส่วนตัวที่ต้องเดินทางไปล่วงหน้าหรือเดินทางกลับทีหลัง และได้ขอลากิจหรือลาพักผ่อนไว้ล่วงหน้า การเดินทางล่วงหน้า ให้เริ่มนับเวลาตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการ การเดินทางกลับล่าช้า ให้นับเวลาสิ้นสุดการปฏิบัติราชการ

  9. ค่าเช่าที่พัก ค่าเช่าที่พักหมายความว่า ค่าใช้จ่ายในการเช่าห้องพักในโรงแรมหรือที่พักแรม ซึ่งผู้เดินทางไปราชการสามารถเบิกค่าที่พักได้ภายในวงเงินและเงื่อนไขที่กระทรวงการคลังกำหนด การพักแรมที่ไม่สามารถเบิกค่าเช่าที่พักได้ ได้แก่ การพักแรมซึ่งโดยปกติต้องพักแรมในยานพาหนะ การพักแรมในที่พักแรม ซึ่งทางราชการจัดที่พักไว้ให้แล้ว

  10. ค่าเช่าที่พัก กรณีเดินทางไปราชการเป็นหมู่คณะ ซึ่งมีผู้ดำรงตำแหน่งระดับ 10 ขึ้นไปเป็นหัวหน้าคณะ หากมีความจำเป็นต้องใช้สถานที่เดียวกันกับที่พักเพื่อเป็นที่ประสานงานของคณะหรือบุคคลอื่น ให้เบิกค่าเช่าที่พักเพิ่มขึ้นอีก 1 ห้อง(ไม่เกิน 2,500 บาท) หรือเบิกค่าเช่าห้องชุดแทนได้เท่าที่จ่ายจริง (ไม่เกิน 5,000 บาท)

  11. ค่าพาหนะ พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 22 และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทาง พ.ศ. 2550 ข้อ 9 การเดินทางไปราชการ ให้ใช้ยานพาหนะประจำทาง ให้เบิกค่าพาหนะได้เท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัด ไม่เกินสิทธิตามประเภทของพาหนะที่ใช้เดินทาง

  12. ค่าพาหนะ (ต่อ) ค่าพาหนะ แบ่งเป็น พาหนะรับจ้าง พาหนะประจำทาง และพาหนะส่วนตัว หลักเกณฑ์การเบิกค่าพาหนะรับจ้าง : ต่ำกว่าระดับ 6 ลงมา เบิกได้เมื่อไม่มีรถประจำทาง กรณีมีรถประจำทาง แต่มีเหตุจำเป็นต้องใช้รถรับจ้าง เช่น มีสัมภาระ เดินทางเช้าตรู่ หรือเดินทางยามค่ำคืน

  13. ค่าพาหนะ (ต่อ) กรณีมีความจำเป็นต้องเดินทางล่วงหน้า หรือไม่สามารถเดินทางกลับที่ตั้งสำนักงานเมื่อปฏิบัติราชการเสร็จ เพราะเหตุส่วนตัว เบิกค่าพาหนะเท่าที่จ่ายจริงตามเส้นทางที่ได้รับคำสั่งให้ไปราชการ กรณีเดินทางนอกเส้นทางระหว่างการลา ให้เบิกค่าพาหนะเท่าที่จ่ายจริง โดยไม่เกินอัตราตามเส้นทางทีได้รับคำสั่งให้ไปราชการ

  14. ค่าพาหนะ (ต่อ) กรณีเดินทางโดยเครื่องบิน : ผู้มีสิทธิ ประเภททั่วไป ระดับชำนาญงานขึ้นไป ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการขึ้นไป กรณีเดินทางโดยรถไฟ ชั้น 1 นั่งนอนปรับอากาศ : ผู้มีสิทธิ ประเภททั่วไป ระดับชำนาญงานขึ้นไป ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการขึ้นไป

More Related