1 / 80

การตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์

การตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์. การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์. ประกอบด้วยการตรวจวิเคราะห์ดังนี้ การตรวจปัสสาวะ ( Urinalysis ) การตรวจอุจจาระ ( Stool exam ) การตรวจหา Occult blood ในอุจจาระ การตรวจน้ำจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

kendra
Download Presentation

การตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์

  2. การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์ ประกอบด้วยการตรวจวิเคราะห์ดังนี้ • การตรวจปัสสาวะ ( Urinalysis ) • การตรวจอุจจาระ ( Stool exam ) • การตรวจหา Occult blood ในอุจจาระ • การตรวจน้ำจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ( Fluid cell count )

  3. ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยาความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา

  4. ระบบทางเดินอาหาร • ระบบทางเดินอาหารประกอบด้วย - ช่องปาก - หลอดอาหาร - กระเพาะอาหาร - ลำไส้เล็ก - ลำไส้ใหญ่ GI Tract = Gartrointestinal tract

  5. ช่องปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ Upper GI Tract Lower GI Tract Lower GI Tract

  6. ส่วนต่างๆของระบบทางเดินอาหารส่วนต่างๆของระบบทางเดินอาหาร • ช่องปาก ภายในประกอบด้วย • - ฟัน : มีหน้าที่ในการบดเคี้ยวอาหาร • - ลิ้น : มีหน้าที่ในการคลุกเคล้าอาหาร • - ต่อมน้ำลาย 3 คู่ คือ - ต่อมน้ำลายใต้หู ( Parotid ) - ต่อมน้ำลายใต้โคนลิ้น ( Sub lingual ) - ต่อมน้ำลายใต้ฟันกรามล่าง ( Sub maxillary )

  7. โดยต่อมน้ำลายมีหน้าที่ในการสร้างน้ำลายออกมา โดยในน้ำลายนั้นประกอบไปด้วย น้ำ กับ น้ำย่อยอะไมเลส (amylase) ซึ่งมีผลต่อการย่อยอาหารพวกคาร์โบไฮเดรต ให้ได้ dextrin หรือน้ำตาลโมเลกุลคู่ที่ไม่สามารถดูดซึมได้

  8. 2. หลอดอาหาร - ประกอบขึ้นด้วยกล้ามเนื้อเรียบที่สามารถบีบตัวเป็นจังหวะใน ขณะที่อาหารผ่านลงมา - ในทางเดินอาหารส่วนนี้ไม่มีการสร้างน้ำย่อยออกมา แต่มีการหลั่ง สารเมือก

  9. 3. กระเพาะอาหาร ( Stomach ) - ประกอบขึ้นด้วยกล้ามเนื้อเรียบที่อัดกันหนามาก - ด้านในมีลักษณะเป็นสันช่วยในการบดอาหารให้มีขนาดเล็กลง อีกผนังด้านในสามารถสร้างเอนไซม์ ซึ่งมีความสามารถในการ ย่อยโปรตีนให้มีโมเลกุลเล็กลง แต่ยังไม่สามารถดูดซึมได้

  10. 4. ลำไส้เล็ก ( Small Intestine ) - เป็นทางเดินอาหารส่วนที่ยาวมาก - แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ดูโอดีนัม ( Duodenum ) เจจูนัม ( Jejunum ) และไอเลียม ( Ileum ) - ที่ผนังลำไส้เล็กสามารถสร้างน้ำย่อยขึ้นมาได้ ซึ่งมีหลายชนิด นอกจากน้ำที่ลำไส้เล็กส่วนดูโอดีนัม ยังได้รับน้ำย่อยจากตับอ่อน และน้ำดีมาจากตับ - น้ำย่อยจากตับอ่อนมีหลายชนิดที่สามารถย่อยยคาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมันได้

  11. ลำไส้ใหญ่ - เป็นทางเดินอาหารส่วนสุดท้าย ซึ่งไม่มีการย่อยเกิดขึ้น - ทำหน้าที่ในด้านการดูดซึมน้ำ เกลือแร่และวิตามินบางชนิด

  12. What is Parasite ?

  13. ปรสิต ( Parasites ) • ปรสิต ( Parasite ) คือ สัตว์ที่อาศัยอยู่ในกายหรือผิวการโฮสต์ ( Host ) ปรสิตขึ้นอยู่กับโฮสต์ จึงปรับตัวให้ทนต่อสภาพแวดล้อมเพื่อยังชีพและสืบพันธุ์ในโฮสต์

  14. ปรสิต ( Parasites ) • โปรโตซัว ( Protozoa ) • หนอนพยาธิ ( Helminths )

  15. What is Protozoa ?

  16. โปรโตซัว ( Protozoa ) • โปรโตซัว เป็นสัตว์เซลล์เดียวที่มีขนาดตั้งแต่ 1 µm จนถึง 150 Um โดยส่วนมากโรโตซัวที่เป็นปรสิตมีขนาดค่อนไปทางเล็ก • โปรโตซัวหลายชนิดสามารถหลั่งสารปกคลุมลำตัวและเข้าสู่ภาวะหยุดพัก เราเรียกระยะนี้ว่า ซิสต์ ( Cyst )

  17. โปรโตซัว ( Protozoa ) ตัวอย่างของโปรโตซัว : อะมีบา

  18. โปรโตซัว ( Protozoa ) อะมีบาที่สำคัญทางการแพทย์ 1. อะมีบาที่เป็นปรสิตของคนและก่อโรค ( Pathogenic ameba ) เช่น Entamoeba histolytica 2. อะมีบาที่เป็นปรสิตของคนแต่ไม่ก่อโรค ( Nonpathogenic ameba เช่น Entamoeba coli , E.gingivalis 3. อะมีบาดำรงชีพอิสระ แต่บางครั้งก่อโรคในคน

  19. พยาธิ คือ อะไร ??

  20. หนอนพยาธิ ( Helminths ) • หนอนพยาธิ ( Helminths ) แบ่งออกเป็น - พยาธิตัวกลม ( Nematodes , Roundworms ) - พยาธิตัวแบน ( Flatworms )

  21. หนอนพยาธิ ( Helminths ) • ไข่พยาธิ • ตัวแก่ หรือ ตัวเต็มวัย

  22. พยาธิตัวกลม ( Nematodes , Roundworms ) • ลักษณะของพยาธิตัวกลม - ตัวกลม - หัวเรียวท้ายเรียว - ลำตัวไม่เป็นปล้อง • พยาธิตัวกลม เช่น พยาธิใส้เดือน , พยาธิเส้นด้าย , พยาธิปากขอ , พยาธิตัวจี๊ด

  23. พยาธิตัวกลม ( Nematodes , Roundworms ) • ชนิดที่พบผู้ป่วยในประเทศไทยมากคือ พยาธิเส้นด้าย(เข็มหมุด) ซึ่งอยู่ในอาหารดิบหรือปรุงสุกๆดิบๆ จากเนื้อสัตว์และหอยชนิดต่างๆ นอกจากนั้นยังอาจได้รับพยาธิจากการใช้มือที่ไม่สะอาด หรือไม่ได้ล้างมือแล้วหยิบอาหารรับประทาน

  24. พยาธิตัวแบน ( Flatworms ) • พยาธิตัวแบนประกอบด้วย - พยาธิตัวตืด ( Cestodes หรือ Tapeworms ) - พยาธิใบไม้ ( Trematodes หรือ Flukes )

  25. พยาธิตัวตืด ( Cestodes หรือ Tapeworms ) • พยาธิตัวตืด ( Cestodes หรือ Tapeworm ) - ลำตัวแบน แบ่งเป็นปล้องๆ • ที่พบผู้ป่วยในประเทศไทยมากคือพยาธิตืดหมูและพยาธิตืดวัว ซึ่งผู้ป่วยรับพยาธิได้ง่าย จากการบริโภคอาหารดิบหรือปรุงสุกๆดิบๆ จากเนื้อหมูและเนื้อวัว

  26. พยาธิใบไม้ ( Trematodes หรือ Flukes ) • พยาธิใบไม้ (Trematodes หรือ Fluke) - ลำตัวแบนไม่แบ่งเป็นปล้อง • ตัวอย่างเช่น พยาธิใบไม้ในเลือด พยาธิใบไม้ในตับ • ติดต่อได้ง่ายจากการบริโภคอาหารประเภทปลาและสัตว์น้ำจืด อาหารดิบหรือปรุงสุกๆดิบๆ

  27. การตรวจอุจจาระStool Examination

  28. อุจจาระ อุจจาระ = Stool หรือ Feces อุจจาระ คือ อะไร ??

  29. โดยปกติแล้วช่วงเวลาของการถ่ายอุจจาระในคนปกติจะแตกต่างกันออกไปแล้วแต่คน แต่จะอยู่ในช่วงของการถ่าย 2-3 ครั้งต่อวันไปจนถึง 2-3 วันต่อครั้ง

  30. ส่วนประกอบของอุจจาระ อุจจาระของคนปกติจะประกอบไปด้วย - กากอาหารที่ไม่ถูกย่อยและกากอาหารที่ไม่ถูกดูดซึม - น้ำ - ผลผลิตของ Digestive tract เช่นพวก bile pigments , enzyme , mucus , เศษของ Epithelial cell ที่หลุดลอกจาก intestinal mucosa - Bacteria

  31. อาหารที่ไม่ย่อย ( Undigested food ) • คือ กากอาหารไม่ย่อยออกมาในอุจจาระจนสามารถแยกออกได้ว่าเป็นเม็ดข้าวโพดหรือผักหรือชิ้นส่วนของผลไม้และ fiber ทั้งหลายเป็นสิ่งที่ปกติและไม่มีคุณค่าทางคลีนิคเท่าใดนัก

  32. ปริมาณของอุจจาระในแต่ละวันของคนปกติจะอยู่ในช่วง 100 – 200 กรัม และอุจจาระมักจะมีลักษณะอ่อน ( Soft ) ในผู้ที่กินผักผลไม้มาก และมีลักษณะเป็นก้อนเล็ก ๆ แข็งและแห้งในผู้ที่กินเนื้อสัตว์มาก

  33. กลิ่นของอุจจาระ ( Odor ) • เป็นผลมาจาก Fermentation ในลำไส้ • กลิ่นของอุจจาระจะเปลี่ยนแปลงไปได้เนื่องจากภาวะความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของอุจจาระ • ในผู้ที่กินเนื้อมากอุจจาระจะมีกลิ่นแรงขึ้น • กลิ่นจะลดลงเมื่อกินผักมาก

  34. กลิ่นพิเศษของอุจจาระที่แสดงภาวะของโรคก็จะมีกลิ่นเปรี้ยว กลิ่นฉุนในผู้ที่มีภาวะ diaarrhea กลิ่นออกเหม็นเน่าคออกคาวในผู้ที่มีแผลเน่าในลำไส้ หรือ มะเร็งลำไส้

  35. การตรวจอุจจาระStool Examination การตรวจอุจจาระ เรียกว่า Stool examination หรือ Fecal analysis

  36. การตรวจอุจจาระ ( Stool examination ) • การตรวจอุจจาระเป็นวิธีการที่ทำได้ง่าย ๆ แต่มีความสำคัญในทางการแพทย์ • เป็นตัวช่วยในการวินิจฉัยโรคต่าง ๆ ได้มากมาย

  37. การตรวจอุจจาระ ( Stool examination ) ประกอบด้วย • การตรวจทางกายภาพ ( Physical examination) • การตรวจหาเชื้อปรสิตโดยกล้องจุลทรรศน์ ( Microscopic examination )

More Related