1 / 24

การสนับสนุนวิชาการ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการป้องกันควบคุมโรค

การสนับสนุนวิชาการ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการป้องกันควบคุมโรค. โดย นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อทั่วไป. วันที่ 5 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมเวียงอินทร์ จังหวัดเชียงราย. แนวความคิดหลัก. สนับสนุนทางวิชาการ สร้างความรู้ ความเข้าใจ

Download Presentation

การสนับสนุนวิชาการ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการป้องกันควบคุมโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสนับสนุนวิชาการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันควบคุมโรคการสนับสนุนวิชาการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันควบคุมโรค โดย นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อทั่วไป วันที่ 5 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมเวียงอินทร์ จังหวัดเชียงราย

  2. แนวความคิดหลัก สนับสนุนทางวิชาการ สร้างความรู้ ความเข้าใจ กำหนดมาตรฐาน และแนวทาง ในการป้องกันควบคุมโรค สาธารณสุข ปศุสัตว์ เทศบาล/อบต. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นหน่วยงานหลัก ในการดูแลสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคแก่ประชาชน จัดทำโดย : กลุ่มพัฒนาวิชาการที่ 3 สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  3. วิสัยทัศน์ กรมควบคุมโรค ปี 2563 “เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและ ภัยสุขภาพด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายใน ปี 2563 ” 3

  4. บทบาท ภารกิจ ของกรมควบคุมโรค 4

  5. ปรัชญา • โรคต่างๆไม่ได้เกิดด้วยความบังเอิญ • โรคต่างๆ สามารถป้องกันได้ • การป้องกันโรคได้มีประสิทธิผลมากกว่า • การรักษาโรค

  6. ทฤษฏีการเกิดโรคติดต่อทฤษฏีการเกิดโรคติดต่อ เชื้อโรค คน สิ่งแวดล้อม

  7. พื้นฐานสำคัญในการป้องกันควบคุมโรคพื้นฐานสำคัญในการป้องกันควบคุมโรค หลักระบาดวิทยา การเฝ้าระวัง การป้องกันโรค การควบคุมโรค

  8. ระบาดวิทยา:ศาสตร์ของการป้องกันโรคระบาดวิทยา:ศาสตร์ของการป้องกันโรค การศึกษาการเกิดโรคระบาด การศึกษาเกี่ยวกับการเกิดโรคภัยว่ามีการกระจายอย่างไร มีสาเหตุจากอะไร มีปัจจัยหรือสิ่งกำหนดของโรคภัยตลอดจนปัญหาต่างๆที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชากรอย่างไร

  9. ระบาดวิทยา เป็นองค์ความรู้เป็นเครื่องมือ วิธีการที่ใช้ในการศึกษา ทำงาน ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ศึกษาถึงการเกิดโรคและวิธีการสืบสวนหาสาเหตุของโรค ใช้ร่วมกับศาสตร์อื่นๆในการส่งเสริมป้องกันโรค

  10. “สร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการป้องกันควบคุมโรค”“สร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการป้องกันควบคุมโรค”

  11. อำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์

  12. คุณลักษณะอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนคุณลักษณะอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ๕. มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรค ๓ การวางแผนงาน - แผนงาน/ปฏิทินปฏิบัติการรณรงค์ในภาวะปกติ - แผนงานรับภาวะฉุกเฉิน - ทบทวนประเมินผลเพื่อกำหนดแผนปีถัดไป SRRT และเครือข่าย - นักวิชาการอำเภอ ตำบล - อสม. - ท้องถิ่น ๔. การระดมทรัพยากร • คณะกรรมการ • - การมีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทาง ๒. ระบบระบาดวิทยาที่ดี - การจัดการข้อมูลข่าวสาร - การตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ

  13. ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) S: Surveillance R: Rapid R: Response T: Team

  14. โรคพิษสุนัขบ้า • สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้าในประเทศไทยแม้จะมีแนวโน้มลดลง แต่เมื่อคนหรือสัตว์ได้รับเชื้อและแสดงอาการแล้วจะเสียชีวิตทุกราย • WHO และ OIE ได้กำหนดเป้าหมายให้ทุกประเทศกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไปภายในปี ค.ศ.2020 • ประเทศไทยยังพบโรคพิษสุนัขบ้า ทั้งในคนและสัตว์ • ปี พ.ศ.๒๕๕๓ ได้ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ฯ และหลักเกณฑ์ การสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าให้กับจังหวัดนำร่อง ๑๒ จังหวัด • ปี ๒๕๕๔ จัดทำชุดความรู้โรคพิษสุนัขบ้าสนับสนุนให้สคร. ๑-๑๒ สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ ๑-๙ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนงานเร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้า ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทั่วประเทศ

  15. เป้าหมาย กำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไปจากประเทศไทย ภายใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีโครงการ/แผนงาน/กิจกรรม การสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๑๐ ต่อปี ยุทธศาสตร์การกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไปภายในปี พ.ศ.๒๕๖๓ ๑. การบริหารจัดการและบูรณาการการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า ๒. สร้างเสริมบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันควบคุมโรค พิษสุนัขบ้าในระดับท้องถิ่น ๓. การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในคนและสัตว์ ๔. การสร้างเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนและประชาชน ๕. เสริมสร้างความรู้ ทักษะ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า

  16. บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในระดับท้องถิ่นบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในระดับท้องถิ่น • เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทในการป้องกันควบคุมโรคในท้องถิ่นที่รับผิดชอบอย่างชัดเจนและต่อเนื่อง • เพื่อสร้างเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเครือข่ายการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าครอบคลุมพื้นที่ที่รับผิดชอบและพื้นที่ที่มีเขตติดต่อกัน • เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกข้อบังคับหรือเทศบัญญัติและบังคับใช้อย่างจริงจังในการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า • เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถดำเนินการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ • เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบูรณาการทำงานร่วมกับสาธารณสุขและปศุสัตว์ในการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า จัดทำโดย : กลุ่มพัฒนาวิชาการที่ 3 สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  17. การประเมินพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าการประเมินพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า • ไม่ปรากฏโรคพิษสุนัขบ้าในคนและสัตว์ทุกชนิด • เฝ้าระวังค้นหาโรคอย่างทั่วถึง • มีมาตรการควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง • เฝ้าระวังการนำสัตว์เข้ามาในพื้นที่ • ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่พบคน-สัตว์เป็นโรค 2 ปีติดกัน พื้นที่ปลอดโรค พื้นที่ควบคุมมี 3 ระดับ ระดับ A: ไม่พบโรคในคน + สัตว์ ตลอด 2 ปี ระดับ B: ไม่พบโรคในคน ตลอด 2 ปี มีรายงาน คนและสัตว์ เสียชีวิต ระดับ C: 18 จัดทำโดย : กลุ่มพัฒนาวิชาการที่ 3 สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  18. วงจรการดำเนเนการ ประเมินจัดระดับพื้นที่ใหม่ทุก 1-2 ปี 19 ยุทธศาสตร์ สร้างเสริมบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในระดับท้องถิ่น การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในคนและในสัตว์ การเสริมสร้างการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนและประชาชน เสริมสร้างความรู้ ทักษะ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า จัดทำโดย : กลุ่มพัฒนาวิชาการที่ 3 สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  19. ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค เด็กก่อนวัยเรียนจำนวนกว่า ๗๐๐,๐๐๐ คน ได้รับการดูแล ในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล โรคที่พบบ่อย ได้แก่ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ โรคมือ เท้า ปาก โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน ปี ๒๕๕๔ พบผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปาก (ณ วันที่ ๒๕ มิย.๕๔) จำนวน ๒,๘๖๘ ราย จาก ๗๖ จังหวัดเป็นเด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปี ถึง ๒,๖๒๒ ราย การระบาดของโรคกระจายอยู่ในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนหลายพื้นที่ จากโครงการนำร่องในปี ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ ได้กำหนดแนวทางและมาตรการในการป้องกันควบคุมโรค ผลการดำเนินการดังกล่าวสามารถลดการป่วยด้วยโรคติดต่อที่พบบ่อยได้

  20. ๑๐ มาตรการสู่ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค

  21. ๑๐ มาตรการสู่ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค

  22. กรมควบคุมโรค ส่วนกลาง : กระทรวงสาธารณสุข นนทบุรี 025903333 WWW.ddc.moph.go.th ส่วนภูมิภาค :สำนักงานป้องกันควบคุมโรค 12 แห่ง กรุงเทพมหานคร สระบุรี ชลบุรี ราชบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น อุบลราชธานี นครสวรรค์ พิษณุโลก เชียงใหม่ นครศรีธรรมราช สงขลา

  23. ขอบคุณครับ

More Related