1 / 11

ด้าน 5.1 ด้านการดำรงชีพ (เฉพาะบางข้อ)

ด้าน 5.1 ด้านการดำรงชีพ (เฉพาะบางข้อ). 5.1.1 ค่าอาหารจัดเลี้ยง วันละไม่เกิน 3 มื้อ มื้อละไม่เกิน 30 บาท ต่อคน 5.1.2 ค่าถุงยังชีพ ชุดละไม่เกิน 550 บาท ต่อครอบครัว 5.1.3 ค่าจัดซื้อหรือจัดหาน้ำสำหรับบริโภคและใช้สอยในที่อยู่อาศัย

Download Presentation

ด้าน 5.1 ด้านการดำรงชีพ (เฉพาะบางข้อ)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ด้าน 5.1 ด้านการดำรงชีพ (เฉพาะบางข้อ) 5.1.1 ค่าอาหารจัดเลี้ยง วันละไม่เกิน 3 มื้อ มื้อละไม่เกิน 30 บาท ต่อคน 5.1.2 ค่าถุงยังชีพ ชุดละไม่เกิน 550 บาท ต่อครอบครัว 5.1.3 ค่าจัดซื้อหรือจัดหาน้ำสำหรับบริโภคและใช้สอยในที่อยู่อาศัย เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็นจนกว่าเหตุการณ์ประสบภัยพิบัติ จะเข้าสู่ ภาวะปกติ 5.1.4 ค่าจัดหาสิ่งของในการดำรงชีพเบื้องต้น กรณีที่อยู่อาศัยได้รับ ความเสียหายทั้งหลัง เท่าที่จ่ายจริง ครอบครัวละไม่เกิน 3,000 บาท ตัวอย่าง รายการที่ต้องขอยกเว้นต่อกระทรวงการคลังก่อนดำเนินการ - การซ่อมแซม กุฏิ วัด สำนักสงฆ์ สถานที่ราชการ บ้านพักทางราชการ - สิ่งก่อสร้างที่ไม่เข้าข่ายเป็นที่พักอาศัยประจำ เช่น รั้ว โรงจอดรถ

  2. 5.1.5 ค่าวัสดุซ่อมแซมหรือก่อสร้างที่อยู่อาศัยประจำ ซึ่งผู้ประสบภัยพิบัติเป็นเจ้าของที่ได้รับความเสียหาย เท่าที่จ่ายจริง หลังละไม่เกิน 33,000 บาท 5.1.6 ค่าวัสดุซ่อมแซมหรือสร้างยุ้งข้าว โรงเรือนสำหรับเก็บพืชผล และคอกสัตว์ที่ได้รับความเสียหาย เท่าที่จ่ายจริง ครอบครัวละไม่เกิน 5,000 บาท 5.1.10 ค่าเครื่องนุ่งห่ม รายละไม่เกิน 1,000 บาท 5.1.11 ค่าเครื่องมือประกอบอาชีพ และหรือเงินทุน สำหรับผู้ประสบภัยพิบัติ ที่เป็นอาชีพหลัก ในการหาเลี้ยงครอบครัวของผู้ประสบภัยพิบัติ เท่าที่จ่ายจริง ครอบครัวละไม่เกิน 11,000 บาท 5.1.12 ค่าช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ

  3. 5.1.13 ค่าจัดการศพผู้เสียชีวิต รายละไม่เกิน 25,000 บาท และในกรณี ผู้ประสบภัยที่เสียชีวิตเป็นหัวหน้าครอบครัวหรือเป็นผู้หารายได้ เลี้ยงดูครอบครัว ให้พิจารณาช่วยเหลือเงินสงเคราะห์ครอบครัวอีก ไม่เกิน 25,000 บาท 5.1.14 กรณีอากาศหนาวมีอุณหภูมิต่ำกว่า 15 องศาเซลเซียส และมีช่วงเวลาอากาศหนาวยาวนานติดต่อกันเกิน 3 วัน ให้จ่ายค่าจัดซื้อเครื่องกันหนาวสงเคราะห์ราษฎรได้ เท่าที่จ่ายจริง คนละไม่เกิน 240 บาท ทั้งนี้ จังหวัดหนึ่ง ไม่เกินงบประมาณปีละ 1,000,000 บาท

  4. ด้าน 5.2 ด้านสังคมสงเคราะห์ 5.2.1 ช่วยเหลือเป็นเงินสงเคราะห์เพื่อบรรเทาภาวะวิกฤตเฉพาะหน้า แก่นักเรียน นักศึกษา ที่บิดา มารดา หรือผู้อุปการะเลี้ยงดู หรือผู้มีรายได้หลักเลี้ยงดูครอบครัวเสียชีวิตจากภัยพิบัติ คนละ 500 บาท 5.2.2 จัดโครงการฝึกอบรมส่งเสริมอาชีพระยะสั้น เฉพาะพื้นที่ประสบภัยพิบัติแก่ผู้ประสบภัยเพื่อให้มีรายได้เลี้ยงดูครอบครัว ในภาวะวิกฤต โดยให้เบิกค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานเท่าที่จ่ายจริง ดังนี้ (1) ค่าใช้จ่ายสำหรับอุปกรณ์การฝึกอาชีพเท่าที่จ่ายจริง คนละไม่เกิน 2,000 บาท (2) ค่าใช้จ่ายตอบแทนวิทยากร วันละไม่เกิน 500 บาท ไม่เกิน 10 วัน (3) ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ปฏิบัติการฝึกอบรม เท่าที่จ่ายจริง ภายในวงเงินไม่เกิน 10,000 บาท (4) ค่าอุปกรณ์ในการลงทุนประกอบอาชีพที่ได้รับการฝึกอบรม เท่าที่จ่ายจริง ครอบครัวละไม่เกิน 4,000 บาท

  5. ด้าน 5.3 ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข 5.3.1 จัดหาวัสดุ เคมีภัณฑ์ อาหาร และเวชภัณฑ์ สำหรับแจกจ่ายประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคน้ำ อาหารที่ปลอดภัย (วัสดุเคมีภัณฑ์ทำความสะอาด บ่อน้ำตื้น น้ำดื่มสะอาด อาหารเสริมโปรตีน อาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เพื่อฟื้นฟู สภาพร่างกาย/เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค) 5.3.2 จัดหาวัสดุ เคมีภัณฑ์ วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำหรับไปปฏิบัติงาน ช่วยเหลือประชาชน ปรับปรุงสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการควบคุมป้องกันโรค (วัสดุเคมีภัณฑ์ทำความสะอาดบ่อน้ำ/ประปาสนาม /ทำลายแหล่งแพร่เชื้อโรค วัสดุล้างตลาด/ถุงดำใส่ขยะ วัสดุวิทยาศาสตร์ตรวจหาเชื้อ ก่อโรคอุจจาระ/ทดสอบ อาหาร/ตรวจวินิจฉัยโรคเลปโตสไปโรซีส ยาและเวชภัณฑ์ 5.3.3 จัดหาวัสดุในการเก็บตัวอย่างอากาศ (วัสดุเก็บตัวอย่างฝุ่นละออง ตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการ วัสดุเก็บตัวอย่างและน้ำยาวิเคราะห์ตะกั่ว/แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ /แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์

  6. ด้าน 5.4 ด้านการเกษตร 5.4.1 ด้านพืช 5.4.2 ด้านประมง 5.4.3 ด้านปศุสัตว์ 5.4.4 ด้านการเกษตรอื่น ช่วยเหลืออะไร - พันธุ์: พืช/สัตว์ - อินทรีย์วัตถุ/ปุ๋ย/อาหาร : พืช/สัตว์ - สารป้องกันศัตรู : พืช/สัตว์ - พื้นที่เกษตร - ขุดลอก/ขนย้าย หินดินทรายไม้โคลนซากวัสดุทับถมแปลงเกษตร - ปรับเกลี่ยพื้นที่เกษตร ไถพรวน ยกร่อง ทำคันดิน - ขนย้าย : ปัจจัยการผลิต/ผลผลิต/สัตว์/พืชอาหารสัตว์

  7. เกษตรกรที่มีสิทธิได้รับการช่วยเหลือเกษตรกรที่มีสิทธิได้รับการช่วยเหลือ ต้องขึ้นทะเบียน ก่อนเกิดภัยพิบัติ เท่านั้น เกษตรกรผู้ปลูกพืช ต้องขึ้นทะเบียนกับสำนักงานเกษตรฯ เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ต้องขึ้นทะเบียนกับ สำนักงานปศุสัตว์ฯ เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น้ำ ต้องขึ้นทะเบียนกับ สำนักงานประมงฯ ข้อสังเกต ควรบันทึกยืนยันการขึ้นทะเบียน ในรายงานการประชุม ก.ช.ภ.อ./จ.

  8. สรุป หลักเกณฑ์ฯ พ.ศ.2556 จะช่วยได้เฉพาะพืชที่ตายหรือเสียหายสิ้นเชิงเท่านั้น กรณีชะงักการเจริญเติบโต จะใช้จ่ายจากเงินทดรองราชการไม่ได้

  9. การช่วยเหลือด้านพืช หลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติปลีกย่อยเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือ ด้านการเกษตรผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.2556 (มีผล 1 เม.ย.56) ข้อ 5.1.1 กรณีพื้นที่ทำการเพาะปลูกมีพืชตายหรือเสียหายโดยสิ้นเชิง ให้ช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกที่เสียหายจริง ไม่เกินรายละ 30 ไร่ในอัตรา ข้าว ไร่ละ 1,113 บาท พืชไร่ ไร่ละ 1,148 บาท พืชสวนและอื่นๆ ไร่ละ 1,690 บาท ไม่เกินรายละ 30 ไร่ คืออะไร กรณีเกษตรกร 1 ราย เพาะปลูกทั้งข้าว พืชไร่ พืชสวน เสียหายทั้งหมด ให้ช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกพืชทั้ง 3 ชนิด แต่รวมกันแล้วไม่เกิน 30 ไร่ มิใช่ แต่ละชนิดไม่เกิน 30 ไร่

  10. การช่วยเหลือด้านประมงการช่วยเหลือด้านประมง ข้อ 5.2 (ให้ช่วยเป็นเงินในลำดับแรก) ข้อ 5.2.1 กุ้งก้ามกราม กุ้งทะเล ปูทะเล หรือหอยทะเล ไร่ละ 10,920 บาท ไม่เกินรายละ 5 ไร่ ข้อ 5.2.2 ปลาหรือสัตว์น้ำอื่นนอกจากข้อ 5.2.1 ที่เลี้ยงในบ่อดิน นาข้าว หรือร่องสวน (คิดเฉพาะพื้นที่เลี้ยง) ไร่ละ 4,225 บาท ไม่เกินรายละ 5 ไร่ ข้อ 5.2.3 สัตว์น้ำตามข้อ 5.2.1 และข้อ 5.2.2 ที่เลี้ยงในกระชัง บ่อซีเมนต์ หรือลักษณะอื่นคล้ายคลึงกัน ตารางเมตรละ 315 บาท ไม่เกินรายละ 80 ตร.ม. ทั้งนี้ หากคิดคำนวณพื้นที่เลี้ยงแล้ว จะได้รับต่ำกว่า 315 บาท ให้ช่วยเหลือในอัตรารายละ 315 บาท

  11. 1 โค ไม่เกิน 2 ตัว/ราย 2 กระบือ ไม่เกิน 2 ตัว/ราย 3 สุกร ไม่เกิน 10 ตัว/ราย 4 แพะ ไม่เกิน 10 ตัว/ราย 5 แกะ ไม่เกิน 10 ตัว/ราย 6 ไก่พื้นเมือง/ไก่งวง ไม่เกิน 300 ตัว/ราย 7 ไก่ไข่ ไม่เกิน 1,000 ตัว/ราย 8 ไก่เนื้อ ไม่เกิน 1,000 ตัว/ราย 9 เป็ดไข่ ไม่เกิน 1,000 ตัว/ราย 10 เป็ดเนื้อ/เป็ดเทศ ไม่เกิน 1,000 ตัว/ราย 11 นกกระทา ไม่เกิน 1,000 ตัว/ราย 12 นกกระจอกเทศ ไม่เกิน 10 ตัว/ราย 13 ห่าน ไม่เกิน 300 ตัว/ราย อัตราการช่วยเหลือขึ้นอยู่กับ อายุและเพศของสัตว์ เช่น โค อายุน้อยกว่า 6 เดือน ตัวละไม่เกิน 6,000 บาท อายุ 6 เดือน ถึง1ปี ตัวละไม่เกิน 12,000 บาท อายุมากกว่า1ปี ถึง2ปี ตัวละไม่เกิน 16,000 บาท อายุมากกว่า2ปี ขึ้นไป ตัวละไม่เกิน 20,000 บาท ข้อสังเกต หักค่าขายซาก (ถ้ามี) การช่วยเหลือ ด้านปศุสัตว์

More Related