1 / 84

เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น

Download Presentation

เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการอบรมให้ความรู้เพื่อส่งเสริมการพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายข้อมูลข่าวสารให้แก่ประชาชนและบุคลากรของหน่วยงานตามตัวชี้วัด“ ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ ”ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๒วันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๒ เวลา ๐๙.๐๐ น. – ๑๒.๐๐ น.ห้องประชุมพระยารัษฎา ศาลากลางจังหวัดตรัง ชั้น ๕อ.เมืองตรัง จ.ตรัง

  2. เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น

  3. ประเด็นการประเมินผล : การเสริมสร้างธรรมาภิบาล ตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 คำอธิบาย : ความสำเร็จของการดำเนินการเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ โดยจังหวัดต้องดำเนินการให้เป็นไปตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2547 เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการประกาศประกวดราคา ประกาศสอบราคา และสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานราชการ และการกำหนดมาตรการให้ทุกหน่วยงานของรัฐ ให้บริการข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ แก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว ซึ่งพิจารณาจากความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแต่ละระดับ

  4. เกณฑ์การให้คะแนน : แบ่งคะแนนเป็น 5 ระดับ โดยพิจารณาจากระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) ตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้

  5. โดยที่ :

  6. รายงาน การจัดตั้งศูนย์ฯ ขั้นตอนที่ 1 หนังสือ สั่งการให้มีการจัดตั้งศูนย์ฯ แนวทางการประเมินผล

  7. คำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบศูนย์ฯคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบศูนย์ฯ คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ฯ

  8. ป้ายบอกที่ตั้ง สถานที่ตั้งศูนย์ข้อมูลฯ

  9. ขั้นตอนที่ 2 แนวทางการประเมินผล • 1. การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร • จัดให้มีตู้ และแฟ้ม สำหรับจัดเก็บเอกสารและดัชนีข้อมูล • จำแนกข้อมูลออกเป็นหมวด/เรื่อง ตามมาตรา 7, 9 และ 11 โดยจัดตั้งเป็นแฟ้ม • 2. จัดทำดัชนีข้อมูลข่าวสาร เว็บไซต์http://trang.nso.go.th/trang/tranginfo/index.php

  10. วิธีการในการจัดการข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนเข้าตรวจดูวิธีการในการจัดการข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนเข้าตรวจดู 1. ต้องมีสถานที่เฉพาะ สำหรับประชาชนใช้ในการตรวจดู และสืบค้นข้อมูลโดยสะดวกตามสมควร 2. หน่วยงานของรัฐจะต้อง จัดทำดัชนีของข้อมูลข่าวสารที่มีรายละเอียด เพียงพอให้ประชาชนเข้าใจวิธีการค้นหาโดยสะดวก - หมวดหมู่ - ชื่อเรื่อง - ผู้รับผิดชอบ

  11. 3. กำหนดระเบียบปฏิบัติ เพื่อรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยหรือความ ปลอดภัยของหน่วยงานก็ได้ 4. จะจัดข้อมูลข่าวสารไว้ที่ ห้องสมุด หรือห้องของหน่วยงานอื่น หรือเอกชน ที่ตั้งอยู่บริเวณใกล้เคียงกับสถานที่ตั้งของหน่วยงานก็ได้ 5. วางหลักเกณฑ์การเรียกค่าธรรมเนียมในการขอสำเนา หรือสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องก็ได้ โดยต้องขอความเห็นชอบจาก กขร. ก่อน ทั้งนี้ควรคำนึงถึงผู้มีรายได้น้อย ประกอบด้วย * ประกาศฯ 7 พ.ค. 2542 : ค่าธรรมเนียมการทำสำเนาโดย เครื่องถ่ายเอกสารขนาดกระดาษ A4 หน้าละไม่เกิน 1 บาท ฯลฯ

  12. ประกาศฯ เรื่องการเรียกค่าธรรมเนียม

  13. ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 9ที่จัดให้ประชาชนสืบค้น บอร์ดประชาสัมพันธ์ แฟ้มข้อมูลข่าวสาร มาตรา 9 (1) – 9 (8)

  14. การจัดทำดัชนีข้อมูลข่าวสาร ที่ชัดเจน สืบค้นได้สะดวก ดัชนี บอร์ดประชาสัมพันธ์

  15. การจัดทำดัชนีข้อมูลข่าวสาร ที่ชัดเจน สืบค้นได้สะดวก ดัชนี บอร์ดประชาสัมพันธ์ข้อมูลฯ ดัชนี แฟ้มข้อมูลข่าวสาร

  16. การจัดทำดัชนีข้อมูลข่าวสาร ที่ชัดเจน สืบค้นได้สะดวก ดัชนี ข้อมูลภายในแฟ้ม

  17. การจัดทำดัชนีข้อมูลข่าวสาร ที่ชัดเจน สืบค้นได้สะดวก การจัดทำดัชนีข้อมูลฯ ที่ชัดเจน สืบค้นได้สะดวก

  18. แนวทางการประเมินผล ขั้นตอนที่ 3 คำสั่งมอบหมายให้รองผู้ว่าฯรับผิดชอบการปฏิบัติตาม พรบ.ข้อมูลฯเป็นการเฉพาะ

  19. บันทึกการประชุมติดตามผลการดำเนินงานบันทึกการประชุมติดตามผลการดำเนินงาน

  20. การให้ความสำคัญและดูแลการปฏิบัติ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ

  21. สรุปสถิติผู้มาใช้บริการศูนย์

  22. แนวทางการประเมินผล ขั้นตอนที่ 4 ปฏิทินการดำเนินงานและการรายงานผลความก้าวหน้าฯ

  23. การฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาบุคลาการการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาบุคลาการ

  24. ช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร • แผ่นพับ • เอกสารสิ่งพิมพ์ • ใบปลิว • บอร์ดประชาสัมพันธ์ • เว็บไซต์ • แผนผังขั้นตอน • คำขวัญ • โปสเตอร์ • ภาพถ่าย

  25. สำรวจความคิดเห็นของประชาชนสำรวจความคิดเห็นของประชาชน

  26. แนวทางการประเมินผล ขั้นตอนที่ 5 เว็บไซต์http://trang.nso.go.th/trang/tranginfo/index.php เว็บไซต์ข่าวประกวดราคา/สอบราคา

  27. เว็บไซต์ข่าวประกวดราคา/สอบราคาเว็บไซต์ข่าวประกวดราคา/สอบราคา

  28. เว็บไซต์ข่าวประกวดราคา/สอบราคาเว็บไซต์ข่าวประกวดราคา/สอบราคา

  29. เว็บไซต์ข่าวประกวดราคา/สอบราคาเว็บไซต์ข่าวประกวดราคา/สอบราคา

  30. ความเป็นมา กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ • พ.ศ. ๒๕๓๓ : พล.อ. ชาติชาย ชุณหวัณ • พ.ศ. ๒๕๓๔ : นายอานันท์ ปันยารชุน • พ.ศ. ๒๕๓๕ : นายชวน หลีกภัย • พ.ศ. ๒๕๓๘ : นายบรรหาร ศิลปอาชา • พ.ศ. ๒๕๔๐ : พล.อ. เชาวลิต ยงใจยุทธ ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ๑๐ กันยายน ๒๕๔๐ มีผลบังคับใช้ ๙ ธันวาคม ๒๕๔๐

  31. มติคณะรัฐมนตรี ในฐานะกำหนดมาตรการ กำกับการบังคับใช้กฎหมาย

  32. มติ ค.ร.ม. 29 ธ.ค. 41 กำหนดแนวทางดำเนินการในปีงบฯ 42 – 43 • ให้กระทรวง ทบวง กรม ถือเป็นนโยบายสำคัญที่ต้องปฏิบัติให้เกิดผลโดยต้องจัดโครงการให้ความรู้แก่ข้าราชการ • ให้หน่วยงานของรัฐทุกแห่ง แต่งตั้งบุคคลหรือคณะกรรมการรับผิดชอบเป็นการเฉพาะ • ให้กระทรวง ทบวง คัดเลือกส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจอย่างน้อย 1 แห่ง เพื่อเป็นหน่วยงานตัวอย่าง

  33. มติ ค.ร.ม. 9 มี.ค. 42 เมื่อ กขร. ให้คำแนะนำ หรือให้ความเห็นต่อเรื่องร้องเรียนให้หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด และโดย ด่วนที่สุด เมื่อ สขร. ขอความร่วมมือ ขอเอกสาร/ข้อเท็จจริงให้หน่วยงาน ของรัฐให้ความสำคัญ และให้ความร่วมมือ เมื่อมีคำวินิจฉัย ให้ถือปฏิบัติตาม ภายใน 7 วัน หากไม่ปฏิบัติตามโดยไม่มีเหตุผลสมควรให้ผู้บังคับบัญชาลงโทษทางวินัยทุกกรณี

  34. มติ ค.ร.ม. 30 พ.ย. 42 ให้มีการติดตามและประเมินการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารฯ โดยให้รายงานผลการติดตาม ให้ กขร. ทราบในเดือน เมษายน และตุลาคม สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นหน่วยงานหลักโดยกำหนดเป็นแผนการตรวจราชการ ของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี ให้กระทรวง ทบวง กรม เร่งรัดการติดตาม ประเมินผล โดยมอบหมายผู้ตรวจราชการกระทรวง/กรม รับผิดชอบ ให้ผู้ตรวจราชการกรมการปกครอง ติดตามการปฏิบัติของหน่วยงานท้องถิ่น

  35. มติ ค.ร.ม. 5 ก.ย. 43 สำนักงานปลัดกระทรวงทุกกระทรวง เป็นผู้รับผิดชอบ ในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติของหน่วยงานราชการ ในสังกัดและรวบรวมรายงานตามแบบที่ สขร. กำหนดส่งให้ กขร. ตั้งแต่ ตุลาคม 2543 เป็นต้นไป

  36. มติ ค.ร.ม. 21 ม.ค. 46 ให้กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นรับผิดชอบในการติดตามผลการปฏิบัติของราชการส่วนท้องถิ่น ให้มีการรายงานผลการปฏิบัติมายัง กขร. ปีละ 1 ครั้งภายใน ตุลาคม ของทุกปี โดยใช้สำนักงานปลัดกระทรวงเป็นผู้รับผิดชอบ ในการติดตามผลและรวบรวมรายงานของหน่วยงานในสังกัด

  37. มติ ค.ร.ม. 28 ธ.ค. 47 ให้ทุกหน่วยงานบริการข้อมูลด้วยความรวดเร็ว กรณีพร้อมจะจัดหาให้ ให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในวันที่ขอ กรณียุ่งยากไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน ให้แจ้งผู้ขอทราบภายใน 15 วัน พร้อมกำหนดวันแล้วเสร็จให้ผู้ขอทราบด้วย ให้หน่วยงานที่มีเว็บไซต์ นำประกาศประกวดราคา และสอบราคา รวมทั้งผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์อีกทางหนึ่ง ให้หน่วยงานของรัฐส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตาม พรบ. ข้อมูลข่าวสารฯ อย่างเคร่งครัด โดยเน้นการฝึกอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ เพื่อให้บริการข้อมูลแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ

  38. มติ ค.ร.ม. 11 เม.ย. 49 ให้ กพร. นำมติ ครม. เมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 47 ที่กำหนดให้หน่วยงานของรัฐ นำข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับประกาศประกวดราคา และ สอบราคา และผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้าง ในรอบเดือนเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน รวมทั้งเรื่องความโปร่งใส เรื่องการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร และเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นเรื่องหนึ่งในตัวชี้วัดประสิทธิภาพของหน่วยงานของรัฐทุกแห่งตั้งแต่ปีงบประมาณ 2550 เป็นต้นไป กำหนดหลักการห้ามมิให้หน่วยงานของรัฐฟ้อง คดีปกครองเพื่อเพิกถอนคำวินิจฉัยของ กวฉ. ที่มีคำวินิจฉัยให้หน่วยงานของรัฐเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแก่ผู้อุทธรณ์

  39. มติ ค.ร.ม. 20 ก.พ. 50 ขยายผลการกำหนดให้การปฏิบัติตาม พรบ. ข้อมูลข่าวสารฯ เป็น KPI ของหน่วยงานท้องถิ่น ให้ปฏิบัติตามเกณฑ์การรักษาหนังสือราชการและการทำลายหนังสือราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 อย่างเคร่งครัด หากพกพร่องให้ดำเนินการทางวินัยแก้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ให้หน่วยงานของรัฐทุกแห่ง สรุปผลการปฏิบัติตามพรบ.ข้อมูลข่าวสารฯ ไว้ในรายงานประจำปีของหน่วยงาน

  40. สภาพการรับรู้เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารของราชการในประเทศไทยสภาพการรับรู้เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารของราชการในประเทศไทย ประเทศไทยครับ ? • เป็น “ สิทธิ ” ที่มีอยู่อย่างจำกัด • เป็นข้อมูลที่ถูกกำหนดให้เป็น “ ความลับ ” ของราชการ ตามระเบียบรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗ • การบริหารราชการและการให้บริการแก่ประชาชนทั่วไป เป็นไปอย่างขาดข้อมูล

  41. หลักการและแนวทาง การจัดทำร่างกฎหมายรับรองสิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ • กำหนดให้ข้อมูลข่าวสารของราชการต้องเปิดเผย • เพื่อ การมีส่วนร่วม ของประชาชน • การตรวจสอบการดำเนินการของรัฐด้วยตนเอง นอกเหนือจากกลไกควบคุม หรือตรวจสอบตามวิถีทางการเมือง • เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ทั่วไปในการจัดเก็บรักษาและ เปิดเผยข้อมูลประเภทต่าง ๆ • เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ทั่วไปในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

  42. การมีส่วนร่วม ของประชาชน หมายถึงกระบวนการที่ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีโอกาสได้เข้าร่วมในการรับรู้ข้อมูล ร่วมแสดงทัศนะและความคิดเห็น ร่วมเสนอปัญหา / ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้อง ร่วมคิดแนวทาง ร่วมการแก้ปัญหา ร่วมในกระบวนการตัดสินใจ และร่วมเป็นเครือข่าย หรือหุ้นส่วนในการปฏิบัติการของราชการ

  43. หลักการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมหลักการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม • การบริหารราชการต้องถือประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยมีเป้าหมายเพื่อความผาสุก กินดีอยู่ดีของประชาชน การดำเนินการต้องเป็นไปอย่างซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส และตรวจสอบได้ • มีการวางกลไกทำงานที่ชัดเจนทุกขั้นตอน และโปร่งใส มีการรับฟังความคิดเห็น มีการชี้แจงทำความเข้าใจให้ประชาชนทราบถึงประโยชน์ที่ได้ • ต้องรับฟังและสำรวจความพึงพอใจ เพื่อแก้ไขให้เหมาะสมอยู่เสมอ

  44. สิทธิตามกฎหมาย

  45. สิทธิตามกฎหมาย

  46. สิทธิตามกฎหมาย

  47. สิทธิตามกฎหมาย

More Related