1 / 56

การจัดการความเสี่ยง

การจัดการความเสี่ยง. โครงการอบบรมเชิงปฏิบัติการ “การบริหารความเสี่ยง” ตามกรอบของ กพร. ดำเนินการโดย ตสน.กรมปศุสัตว์. ผลกระทบ. การระบุความเสี่ยง (5). ตัวอย่าง. ลำดับ. ประเภท. ปัจจัยเสี่ยง. เหตุการณ์. ผลกระทบ. การสร้างความเข้าใจ. การจัดการ/บริหารความเสี่ยง

kayla
Download Presentation

การจัดการความเสี่ยง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการความเสี่ยง โครงการอบบรมเชิงปฏิบัติการ “การบริหารความเสี่ยง” ตามกรอบของ กพร. ดำเนินการโดย ตสน.กรมปศุสัตว์

  2. ผลกระทบ

  3. การระบุความเสี่ยง (5) ตัวอย่าง ลำดับ ประเภท ปัจจัยเสี่ยง เหตุการณ์ ผลกระทบ

  4. การสร้างความเข้าใจ • การจัดการ/บริหารความเสี่ยง • การจัดการ/บริหารความเสี่ยงในภาครัฐ • ความเสี่ยงคืออะไร • แนวคิดพื้นฐานในการจัดการ/บริหารความเสี่ยง • กระบวนการจัดการความเสี่ยงเป็นอย่างไร • การประยุกต์ใช้การจัดการความเสี่ยงในองค์กร • การดำเนินการตามกรอบตัวชี้วัดในเรื่องของการจัดการความเสี่ยงทำอย่างไร

  5. Structure Process/IT Rule & Regulation People/ Culture Blueprint for Change การจัดการยุทธศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ Strategy Formulation แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (2548-2551) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี S W O T Vision การจัดการความเสี่ยง Strategic Issue Goal (KPI / target) Strategies Strategy Implementation Strategic Control Alignment Strategic Management Process Action Plan การจัดการความเสี่ยง PMQA

  6. การจัดการยุทธศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพการจัดการยุทธศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ การวางแผนกลยุทธ์ที่ดี การปฏิบัติตามกลยุทธ์ที่ดี กลยุทธ์ที่ดี + = Good Strategic Planning Good Strategic Execution Good Strategy การบริหาร/จัดการความเสี่ยง RISK MANAGEMENT

  7. ความเชื่อมโยงของแนวความคิดและเทคนิควิธีการต่างๆ ในการพัฒนาระบบราชการไทย / BSC • การบริหาร • งบประมาณ • ประหยัดงบประมาณ/ • พลังงาน • คำนวณต้นทุน • ต่อหน่วย • ลดขั้นตอนและ • ระยะเวลา CRM Blueprint for Change แผนพัฒนากฎหมาย Process Redesign Competency (HRD) Action Learning Program (CEO/MM) Individual Scorecard (cascading) • People • Participation Knowledge Mgt. IT Plan Risk Mgt. Core Values : จริยธรรม ธรรมาภิบาล MBNQA/PMQA

  8. การพัฒนาองค์กรกับการจัดการ/บริหารความเสี่ยงในภาครัฐการพัฒนาองค์กรกับการจัดการ/บริหารความเสี่ยงในภาครัฐ • การวิจัยและทำการศึกษาในการพัฒนาการจัดการของระบบราชการ • พ.ร.ฏ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 (พ.ร.ฏ. GG) • การนำเครื่องมือการบริหารจัดการมาใช้ เพื่อพัฒนา KM PMQA RM etc. • การนำการจัดการ/บริหารความเสี่ยงมาประยุกต์ใช้

  9. องค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง (High Performance Organization – HPO) คือ องค์การที่มีรูปแบบของพฤติกรรมและการปฏิบัติงานคนในองค์การที่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนมีการบริหารงานที่มุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ มีภาระรับผิดชอบเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทำงานร่วมกับภาคต่างๆ ด้วยความกระตือรือร้นเพื่อให้ผลของการปฏิบัติงานเกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชนอย่างยั่งยืน

  10. การบริหาร/จัดการความเสี่ยง (1) • เริ่มต้นที่ เกี่ยวกับ การพนัน สมัยกรีก โรมัน (ทฤษฏีความน่าจะเป็น) • การประกันภัยทางทะเล (Insurance) • เศรษฐศาสตร์ (ทฤษกีการลงทุน) • ความเสี่ยงในโรงงานอุตสาหกรรม (การจัดการความปลอดภัย) • ความเสี่ยงของประชาชน (ความเสี่ยงจากสภาวะแวดล้อม) • ความเสี่ยงเชิงนโยบาย (การวางแผนการดำเนินธุรกิจ) • อื่น ๆ

  11. การบริหาร/จัดการความเสี่ยง (2) • เรื่องใหม่ ลอกต่างประเทศ ไม่เข้ากับบริบทไทย • แนวคิดไทยที่คุ้นเคย กันไว้ดีกว่าแก้ ปลอดภัยไว้ก่อน • ตำราพิชัยสงคราม ของไทย (ยุทธวิธีการรบมีการคำนึงความเสี่ยง) ในยุทธวิธีรบ เป็น 1 ใน 9 ยุทธวิธีที่สำคัญสำหรับยุทธวิธีการรบของไทย !

  12. แนวคิคพื้นฐานในการจัดการความเสี่ยง (1) คิดเชิงอนาคต ปัจจุบันเป็นยุคสมัย ที่ต้องเผชิญกับผลกระทบของเปลี่ยนแปลง.....เป็นการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว และรุนแรงในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจที่เชื่อมโยงกันระหว่างประเทศ ด้านการเมืองที่มีการตื่นตัวในสิทธิและเสรีภาพอย่างกว้างขวาง การพัฒนาด้านเทคโนโลยี สังคมที่ก่อให้เกิดค่านิยมแบบใหม่ ๆ ................. ดังนั้น เพื่อความอยู่รอดและอยู่อย่างประสบผลสำเร็จได้นั้น จำเป็นต้อง (เอกชน) : จำเป็นในเรื่องของความอยู่รอด ต้องระวังปรับตัว และ เตรียมตัวให้ที่จะเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงในอนาคต ภาครัฐ : ............

  13. เข้าใจความเสี่ยง (1) • เป็นเรื่องปกติ ใกล้ตัว อยู่กับเราตลอด • การพนัน/กางลงทุน • การทำงานในโรงงาน • การขับรถ • ในการดำเนินการองค์กรต้องเผชิญกับความเสี่ยงเสมอ • องค์กรเอกชน ลงทุนเพื่อต้องการได้กำไรตามที่ คาดหวังไว้ • องค์กรภาครัฐ บริหารงานตามเป้าประสงค์ที่ คาดหวัง ไว้ • ดำเนินการโดยไม่คำนึงถึงความเสี่ยง โดยมาก (ถ้าไม่โชคดี) • จะ ไม่ได้ดังที่คาดหวังผิดหวัง • ถ้าสิ่งที่ทำยิ่งใหม่ ความเสี่ยงยิ่งมาก เพราะเราขาดความรู้ความเข้าใจ

  14. เข้าใจความเสี่ยง (2) • ทำสิ่งใหม่ นโยบายใหม่ โครงการใหม่ • ความเสี่ยงของนโยบาย (การวางนโยบาย) • ความเสี่ยงในการดำเนินงาน • ความเสี่ยงในการดำเนินโครงการ (ความเสี่ยงในการเลือกโครงการ)

  15. เข้าใจความเสี่ยง (3) ความเสี่ยงคืออะไร มาจากไหน ผลกระทบ ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง ความไม่แน่นอน ความไม่แน่นอน ความหมายของความเสี่ยง เหตุการณ์ที่เมื่อเกิดขึ้นแล้วส่งผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ และ เป้าหมายของขององค์กร

  16. เข้าใจความเสี่ยง (4) สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยง • ความเสี่ยงเป็นเรื่องที่ละเลยไม่ได้ • ความเสี่ยงเป็นผลมาจากความไม่แน่นอน • ความเสี่ยงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอนาคต • ความเสี่ยงมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน • ความเสี่ยงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการตัดสินใจ • ปัจจัยที่อยู่รอบตัวเรามีความสัมพันธ์กัน

  17. แนวคิดในการจัดการ/บริหารความเสี่ยง (1) การจัดการความเสี่ยงเน้นแนวทางการบริหารจัดการเชิงรุก(Proactive Management) มากกว่าแนวทางการบริหารจัดการเชิงรับ(Reactive Management/Crisis Management) Reactive Organization Proactive Organization • อย่า ละเลยเชิงรับ เพราะเป็นไปไม่ได้ที่จะคิดเชิงรุก • ได้ทุกเรื่องแม้ว่าเราจะวางแผนรัดกุมเท่าใดมักมีเหตุการณ์ที่คาดไม่ถึงเกิดขึ้นเสมอ ความเสี่ยง ความเสี่ยง การดำเนินงาน การดำเนินงาน เป้าหมาย การดำเนินงาน เป้าหมาย

  18. แนวคิดในการจัดการ/บริหารความเสี่ยง (2) ผลกระทบ ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง กันไว้ดีกว่าแก้ การจัดการ หลังเกิดความเสี่ยง การจัดการ ก่อนเกิดความเสี่ยง Crisis Management Proactive Management บรรเทา ป้องกัน การจัดการความเสี่ยงเป็นสิ่งที่ทำกันอยู่แล้ว และ คำนึงถึงอยู่แล้ว หากแต่เป็นระบบแค่ไหน?

  19. วัตถุประสงค์ในการจัดการความเสี่ยงวัตถุประสงค์ในการจัดการความเสี่ยง เพื่อให้องค์กรสามารถลดระดับความเสี่ยงให้อยู่ใน สภาวะที่ควบคุมได้ หรือ อยู่ในระดับที่ต่ำที่สุด โดยผ่านกระบวนการที่สร้างความเข้าใจกับ ความเสี่ยง (ส่วนประกอบ) ผลกระทบ ต่อวัตถุประสงค์ในการทำงาน เพื่อช่วยให้หาแนวทางการจัดการ/บริหารความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร ประโยชน์ของการจัดการความเสี่ยง โปร่งใส (ตรวจสอบได้) ประหยัด (ลดขั้นตอน หลีกเลียงความสูญเสีย กระจายอำนาจ) ประสิทธิภาพ (ลดการเผชิญกับปัญหาระหว่างการดำเนินการ) เป็นเลิศ เพิ่มประสิทธิผล (บรรลุเป้าประสงค์ตามที่ตั้งไว้)

  20. กระบวนการจัดการ/บริหารความเสี่ยง (1) มีหลายโมเดล 2 ขั้นตอน (Software Industry) 3 ขั้นตอน (Construction Industry) 4 ขั้นตอน (ทั่วไป UK USA Australia และ Korea) 8 ขั้นตอน PRAM process

  21. กระบวนการจัดการ/บริหารความเสี่ยง (2) การระบุความเสี่ยง ความเสี่ยงเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อ ดังนั้นควรดำเนินการตามกระบวนการจัดการความเสี่ยงเป็น ช่วงๆ เช่น ทุก 3 เดือน 6 เดือน เป็นต้น การประเมินความเสี่ยง การเลือกกลยุทธ์จัดการความเสี่ยง การควบคุมและรายงานความเสี่ยง

  22. การระบุความเสี่ยง (1) ความหมาย และ วัตถุประสงต์ การระบุความเสี่ยงเป็นขั้นตอนเริ่มต้นในการค้นหาความเสี่ยงที่สำคัญ เพราะหากไม่รู้ว่าอะไรคือความเสี่ยง ก็ไม่สามารถวางแผนจัดการความเสี่ยงได้ แนวคิดในการระบุปัจจัยเสี่ยง/ความเสี่ยง (เริ่มต้น) : คิดในแง่ลบ เรื่องร้าย ๆ อะไรที่จะเกิดขึ้นแล้วส่งผลกระทบต่อการดำเนินงาน และ บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร

  23. การระบุความเสี่ยง (2) การวิเคราะห์เริ่มจากส่วนไหน ผลกระทบ ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง ผลกระทบ ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง ผลกระทบ ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง ผลกระทบ ความสัมพันธ์ของส่วนประกอบของความเสี่ยง

  24. การระบุความเสี่ยง (3) มุมมองในการระบุปัจจัยเสี่ยง • พิจารณาจาก วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ หรือภาพรวม • พิจารณาจากงาน (รายละเอียด) หรือ กิจกรรมที่จะดำเนินงานอย่างละเอียด โดยพิจารณาว่าในแต่ละกิจกรรมที่จะทำจะมีความเสี่ยงใดบ้าง ความไม่แน่นอน ปฏิวัติ เปลี่ยนแปลงกฎหมาย นโยบาย ภัยธรรมชาติ การจัดงบประมาณ กฎระเบียบ โปรแกรม ทรัพยากร ระบบ IT โครงการ โครงการ โครงการ

  25. การระบุความเสี่ยง (4) แนวคิดในการระบุปัจจัยเสี่ยง • ปัจจัยเสี่ยงสามารถ แบ่งได้ เป็น ปัจจัยภายนอก และ ปัจจัยภายใน • ปัจจัยภายนอก หมายถึง นอกเหนือจากการควบคุมขององค์กร เช่น การเมือง เศรษฐกิจ กฎหมาย ภัยพิบัติ (ภัยธรรมชาติ) ตลาด • ปัจจัยภายใน หมายถึง ปัจจัยที่เกี่ยวกับดำเนินงานขององค์กรโดยตรง เช่น งบประมาณ บุคลากร กฎระเบียบ เทคโนโลยี

  26. การระบุความเสี่ยง (5) เทคนิคที่ใช้ในการระบุความเสี่ยง การระดมความคิด (Brainstorming) การสอบถามความคิดเห็นจากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ (Expert Interviews) การแจกแบบสอบถามความคิดเห็น (Questionnaire) การจัดทำ Risk Check Lists (ตามปัจจัยความเสี่ยง) ตัวอย่าง ลำดับ ประเภท ปัจจัยเสี่ยง เหตุการณ์ ผลกระทบ

  27. การระบุความเสี่ยง (6) • แนวความคิดที่หลากหลาย เน้นการระดมความคิด และเข้าใจความเสี่ยง • เทคนิคในการระบุความเสี่ยง ระดับบุคคล Cause Effect Analysis ระดับกลุ่ม Brainstorming Nominal Group Techniques

  28. การประเมินความเสี่ยง (1) ความหมาย และ วัตถุประสงค์ ผลลัพธ์จากขั้นตอนการระบุความเสี่ยง จะทำให้เกิดปัจจัยเสี่ยงจำนวนมาก ดังนั้นแล้วเพื่อช่วยในการตัดสินใจลงทุนและ วางแผนจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม จำเป็นที่จะต้องพิจารณาความความเสี่ยงตาม ความสำคัญของความเสี่ยง

  29. การประเมินความเสี่ยง (2) หลักการเบื้องต้นในการประเมินความเสี่ยง ผลกระทบ ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง เหตุการณ์ ความรุนแรงของผลกระทบ โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง พิจารณาถึงโอกาสว่ามีความเป็นไปได้มากน้อย เพียงใดที่จะเกิด ความเสี่ยง/เหตุการณ์จะเกิดขึ้น พิจารณาถึงความรุนแรงของผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากว่าจะมีมากน้อยเพยงใด หากความเสี่ยง/เหตุการณ์เกิดขึ้น

  30. การประเมินความเสี่ยง (3) ตารางประเมินความเสี่ยง Risk Impact Grid เครื่องมือที่ช่วยในการประเมินความเสี่ยง มีโอกาสสูงมาก (5) เป็นไปได้มาก (4) น่าจะเป็นไปได้ (3) โอกาสที่จะเกิด โอกาสค่อนข้างน้อย (2) ไม่น่าที่จะเกิดขึ้น (1) ละเลยได้ (1) กระทบเล็กน้อย (2) กระทบปานกลาง (3) กระทบมาก (4) ร้ายแรง (5) ผลกระทบ

  31. การประเมินความเสี่ยง (4) 5 4 มีโอกาสสูงมาก (5) เป็นไปได้มาก (4) 2 3 น่าจะเป็นไปได้ (3) โอกาสที่จะเกิด โอกาสค่อนข้างน้อย (2) 1 ไม่น่าที่จะเกิดขึ้น (1) ละเลยได้ (1) กระทบเล็กน้อย (2) กระทบปานกลาง (3) กระทบมาก (4) ร้ายแรง (5) ผลกระทบ

  32. การประเมินความเสี่ยง (5) โดยทั่วไปผลลัพธ์ของ Risk Impact Grid (Risk Matrix) จะถูกใช้ในรูปของการคำนวณเปรียบเทียบ โดยใช้สูตร ระดับต่อการการดำเนินงาน/ วัตถุประสงค์ โอกาสที่ความเสี่ยงจะเกิด * ผลกระทบของความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น = การใช้ Risk Impact Grid นั้นเป็นการสร้างความเข้าใจเบื้องต้น ในมุมมองของแต่ละคน ต่อแต่ละความเสี่ยงเท่านั้น เพิ่มความเข้าใจโดย อธิบายเพิ่มเติมในรายละเอียด คำนวณผลกระทบในรูปของตัวเงิน/ ทรัพยากรที่ต้องใช้เพิ่ม / เวลาที่ต้องใช้เพิ่ม

  33. การเลือกกลยุทธ์จัดการความเสี่ยง (1) ความหมาย และ วัตถุประสงค์ การใช้กระบวนการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ ในการคัดเลือกกลยุทธ์เพื่อจัดการความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสมตามความสำคัญของความเสี่ยง

  34. การเลือกกลยุทธ์จัดการความเสี่ยง (2) กลยุทธ์ในการจัดการความเสี่ยง การยอมรับความเสี่ยง (Risk Acceptance) ยอมรับความเสี่ยงนั้นถึงแม้ว่าจะเกิดขึ้น และไม่ทำอะไรก่อนที่ความเสี่ยงจะเกิด การบรรเทาความเสี่ยง(Risk Mitigation) การหาแนวทางในการลดระดับความรุนแรงของความเสี่ยง เมื่อความเสี่ยงเกิดขึ้น การลดความเสี่ยง (Risk Reduction) การลดโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงโดยการกระทำบางอย่างเพื่อป้องกันการเกิดขึ้นของความเสี่ยง การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) การหลีกเลี่ยงที่จะเผชิญกับความเสี่ยง - การหลีกเลี่ยงที่จะดำเนินการ การโอนความเสี่ยง (Risk Transfer) การโอนความรับผิดชอบในการรับผิดชอบในความเสี่ยง – การจ้างผู้อื่นมาดำเนินการแทน, การซื้อประกันภัย

  35. การเลือกกลยุทธ์จัดการความเสี่ยง (3) เส้นแบ่งการยอมรับความเสี่ยง Risk Threshold การยอมรับความเสี่ยง การโอนความเสี่ยง 4 5 มีโอกาสสูงมาก (4) การลดความเสี่ยง เป็นไปได้มาก (4) 2 3 น่าจะเป็นไปได้ (3) โอกาสที่จะเกิด โอกาสค่อนข้างน้อย (2) 2 1 ไม่น่าที่จะเกิดขึ้น (1) ละเลยได้ (1) กระทบเล็กน้อย (2) กระทบปานกลาง (3) กระทบมาก (4) ร้ายแรง (5)

  36. การเลือกกลยุทธ์จัดการความเสี่ยง (4) หลักเกณฑ์ในการเลือกกลยุทธ์จัดการความเสี่ยง • ความสามารถในการจัดการความเสี่ยงขององค์กร • ระดับการยอมรับความเสี่ยง (ความเชื่อมั่น– Risk Threshold) • ต้นทุนในการจัดการความเสี่ยง • ความสามารถของผู้ที่จะรับโอนการจัดการความเสี่ยง • ความจำเป็นในการจะต้องดำเนินการตามแผนที่ได้วางไว้

  37. การควบคุมและรายงานความเสี่ยง (1) ความหมาย และ วัตถุประสงค์ เมื่อคัดเลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสมแล้ว องค์กรต้องทำการดำเนินการตามที่ได้วางแผนไว้ และ ต้องทำการรายงานผลภายหลังจากที่ได้ดำเนินการตามแผนนั้นแล้ว ทั้งนี้เนื่องจากอาจมีความเสี่ยง เกิดขึ้นตามในภายหลังได้(ควรมีการวางแผนสำรอง Contingency Planเพื่อรองรับผลกระทบดังกล่าวด้วยก็ได้) แผนสอง

  38. การควบคุมและรายงานความเสี่ยง (2) เครื่องมือที่ใช้ในการรายงาน ทะเบียนความเสี่ยง (Risk Register)

  39. การควบคุมและรายงานความเสี่ยง (3) (กระบวนการที่ทำอย่างต่อเนื่อง) • มองหา Signal/ Early Warning และ พร้อมแจ้งให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทราบ • การแจ้งความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากกระบวนการจัดการความเสี่ยง • มีผู้รับผิดชอบในการจัดการความเสี่ยงแต่ละตัว

  40. การประยุกต์ใช้การจัดการความเสี่ยง (1) • ยึดหลัก การจัดการการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิภาพ • การสนับสนุนจากผู้บริหาร • จัดโครงสร้างในการสนับสนุนระบบการจัดการความเสี่ยง • ทำระบบ training (โดยใช้ ทีมการจัดการความเสี่ยง/หน่วยงาน/ที่ปรึกษา) • พัฒนาระบบการจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสมกับองค์กร • ปรับให้เหมาะสมกับสภาพองค์กรและขยายขอบเขตการประยุกต์ใช้ • การจัดการความเสี่ยง และ การตรวจสอบภายใน • การจัดการความเสี่ยงเป็นเรื่องของทุกคนในองค์กร

  41. การประยุกต์ใช้การจัดการความเสี่ยง (2) วางนโยบายการจัดการ/บริหารความเสี่ยง วัตถุประสงค์ของการจัดการความเสี่ยง การจัดตั้งหน่วยงานรับผิดชอบ คณะกรรมการการจัดการความเสี่ยง / ทีมจัดการความเสี่ยง การวางระบบรองรับในการดำเนินการตามกระบวนการจัดการความเสี่ยง การตั้งนิยามความเสี่ยง ระดับการยอมรับความเสี่ยง การเลือกเครื่องมือใช้การกระบวนการจัดการความเสี่ยง วางระบบการรายงานการบริหาร/ บริหารความเสี่ยง

  42. การประยุกต์ใช้การจัดการความเสี่ยง (3) การสร้างการตระหนักถึงความเสี่ยงและผลกระทบ ผ่านกระบวนการติดต่อสื่อสาร บรรยากาศ การมีส่วนร่วมของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในการระดมความคิดถึงปัจจัยเสี่ยง และ ผลกระทบ การกระจายอำนาจในการตัดสินใจ ความคล่องตัวในการจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้น การส่งเสริมกระบวรการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการระบุและจัดการความเสี่ยง

  43. การประยุกต์ใช้การจัดการความเสี่ยง (4) อุปสรรคในการประยุกต์ใช้การจัดการความเสี่ยง • ความไม่เคยชินกับแนวคิด • ไม่ต้องการรับรู้ถึงปัญหา (kill the messenger syndrome) • ความยุ่งยากในการประเมินความเสี่ยง (ทฤษฎีความน่าจะเป็น) • วัฒนธรรมองค์กร เช่น หวงความรู้, ไม่ให้ความสำคัญกับผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา, ทำงานกลุ่มใครกลุ่มมัน

  44. การประยุกต์ใช้การจัดการความเสี่ยง (5) ส่งเสริมให้ทุกคนตระหนักถึงการจัดการความเสี่ยง ดูแลความเสี่ยงในความรับผิดชอบของตัวเอง เข้าผลกระทบจากการทำงานของตนเองต่อผู้อื่น (ความเสี่ยงส่งผลกระทบ) ดูแลความเสี่ยงในการทำให้บรรลุภารกิจ และ เป้าประสงค์ขององค์กร

  45. ภาพรวมการศึกษาการจัดการความเสี่ยงภาพรวมการศึกษาการจัดการความเสี่ยง ปัจจัยด้านบุคคลและการบริหารจัดการ ผบกระทบความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง ระดับบุคคล การตระหนักถึงความไม่แน่นอน การรับรู้ความเสี่ยง ทัศนคติต่อความเสี่ยง พฤติกรรมของบุคคลต่อความเสี่ยง ภายใน – ภายนอก ควบคุมได้-ควบคุมไม่ได้ ความเสี่ยงตามแหล่งที่มา ความไม่แน่นอน ผลดี ผลเสี่ย บรรเทา Reactive (Crisis) ป้องกัน Proactive ระดับการบริหารจัดการ การมีส่วนร่วมในการทำงาน การกระจายอำนาจ การติดต่อสื่อสารเกี่ยวกับความเสี่ยง การเรียนรู้ภายในองค์กร ระบบการจัดการความเสี่ยง การบ่งชี้ความเสี่ยง การประเมิณความเสี่ยง การวางแผนจัดการความเสี่ยง การติดตามความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยง การประยุกต์ใช้การจัดการความเสี่ยงในองค์กร โมเดล การวัดประสิทธิภาพการจัดการความเสี่ยง ความหมาย : การตระหนักถึงความเสี่ยง วัฒนธรรม กระบวนการ ประสบการณ์ การประยุกต์ใช้ การจัดตั้งนโยบายการจัดการความเสี่ยง การจัดการ การเปลี่ยนแปลงในองค์กร การสนับสนุนจากผู้บริหาร การออกแบบ ระบบการจัดการความเสี่ยง การตรวจสอบและประเมิณระบบการจัดการความเสี่ยง

  46. แนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัดเรื่องระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550

  47. วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัดการบริหารความเสี่ยงวัตถุประสงค์ของตัวชี้วัดการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้หน่วยราชการมีระบบในการบริหารความเสี่ยงโดยการบริหารปัจจัยและควบคุม กิจกรรม รวมทั้งกระบวนการดำเนินงานต่าง ๆ เพื่อลดมูลเหตุของแต่ละโอกาสที่องค์กรจะเกิดความเสียหาย และตรวจสอบได้อย่างมีระบบ โดยคำนึงถึงการบรรลุเป้าหมายขององค์กรตามยุทธศาสตร์เป็นสำคัญ

  48. ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบบริหารความเสี่ยงระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบบริหารความเสี่ยง • เป็นตัวชี้วัดเลือกในปี 2549 • เป็นตัวชี้วัดเลือกในปี 2550 ขั้นตอนการดำเนินงานตามกรอบและแนวทางปี 2549

  49. ขั้นตอนการดำเนินงาน (1)

  50. ขั้นตอนการดำเนินงาน (2) 2550 2549 จัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง จัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง/ สรุปทบทวนวางแผนงาน 1 ระบุและวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยง ระบุและวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยง 2 จัดทำแผนงานบริหารความเสี่ยง จัดทำแผนงานบริหารความเสี่ยง 3 ดำเนินการตามแผนงานบริหารความเสี่ยง ดำเนินการตามแผนงานบริหารความเสี่ยง 4 จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน 5

More Related