1 / 11

ประเพณีของชาวสุรินทร์

ประเพณีของชาวสุรินทร์. จัดทำโดย นางสาวอัจฉราพรรณ เปียยก เลขที่ 3 นางสาว ศุภ รัตน์ บำรุงตน เลขที่ 10 นางสาว จิรนันท์ ปิธิระโจ เลขที่ 17 นางสาว โยธ กา พะนิรัมย์ เลขที่ 23 นางสาวศักดิ์ ประดับ เลขที่ 31

kaycee
Download Presentation

ประเพณีของชาวสุรินทร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประเพณีของชาวสุรินทร์ประเพณีของชาวสุรินทร์ จัดทำโดย นางสาวอัจฉราพรรณ เปียยก เลขที่ 3 นางสาวศุภรัตน์ บำรุงตน เลขที่ 10 นางสาวจิรนันท์ปิธิระโจ เลขที่ 17 นางสาวโยธกา พะนิรัมย์ เลขที่ 23 นางสาวศักดิ์ ประดับ เลขที่ 31 นำเสนอ คุณครูประใพวรรณ สมจันทร์

  2. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • ประเพณีพื้นบ้านของชาวสุรินทร์ส่วนใหญ่เป็นมรดกที่ตกทอดมาจาก บรรพบุรุษสู่ลูกหลานมีการประพฤติปฏิบัติมาหลายชั่วอายุคน ซึ่งจังหวัดสุรินทร์ก็มีชนเผ่าพื้นเมืองที่หลากหลายและแต่ละชนเผ่าก็มีประเพณีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไปอาทิเช่น ประเพณีแซนโฎนตา ซึ่งเป็นประเพณีที่ชาวสุรินทร์ชนเผ่าเขมรสืบทอดกันมาช้านานแล้วเป็นการแสดงออกถึงความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ งานช้างสุรินทร์ เป็นประเพณีของชนเผ่ากูยในสุรินทร์ ซึ่งชนเผ่านี้มีความเชี่ยวชาญในการจับช้าง เลี้ยงช้าง และฝึกช้างมาแต่อดีต ประเพณีบวชนาคแห่ช้าง เป็นประเพณีที่จัดขึ้นในวันขึ้น 13-15ค่ำเดือน 6 จะจัดขึ้นที่อำเภอท่าตูมโดยจะมีกระบวนการแห่แหนบรรดานาคด้วยขบวนช้างกว่า50เชือก ข้ามลำน้ำมูลอย่างเอิกเกริก ประเพณีโกนจุก เป็นประเพณีที่ชาวสุรินทร์ในอดีตนิยมไว้จุกให้กับเด็กๆ เนื่องจากมีความเชื่อว่า ผม จุกตรงกลางกระหม่อมช่วยกันไม่ให้กระหม่อมที่บางโดนน้ำค้างซึ่งอาจทำให้เด็กเป็นหวัดได้ และยังมีอีกหลายประเพณีที่เกี่ยวกับความเชื่อดั้งเดิมของชาวสุรินทร์

  3. วัตถุประสงค์ • 1. เพื่อเผยแพร่ประเพณีของชาวสุรินทร์ • 2. เพื่อฝึกทักษะกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม • 3. เพื่อสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมของชุมชนคนสุรินทร์

  4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงานประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน • 1. บุคคลจากต่างถิ่นได้รู้ถึงประเพณีวัฒนธรรมของชาวสุรินทร์2. สมาชิกในกลุ่มเกิดทักษะกระบวนการทำงาน3. ได้สืบทอดประเพณีวัฒนธรรมของชุมชนให้อยู่กับชาวสุรินทร์สืบไป

  5. วิธีการดำเนินการ • ในการทำงานจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์ในรูปแบบการนำเสนอ Power pointเรื่องประเพณีของชาวสุรินทร์นี้ คณะผู้จัดทำได้ดำเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ • 1.ทางคณะผู้จัดทำโครงงาน ได้ประชุมปรึกษากันและตัดสินใจเลือกทำโครงงานในหัวข้อ • “ประเพณีของชาวสุรินทร์” • 2.ศึกษาค้นคว้าและเก็บรวมรวบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือ ประเพณีของชาวสุรินทร์ว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใดและต้องศึกษาคว้าเพิ่มเติมเพียงใดจากเว็บไซด์ต่างๆและเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทำเนื้อหาต่อไป • 3.นำเนื้อหาที่ได้มาลงมือปฏิบัติในโปรแกรมนำเสนอ Power point • 4.ตรวจสอบเนื้อหาสาระของเรื่องและข้อผิดพลาดของรายงาน • 5.อภิปรายนำเสนอต่อคุณครูที่ปรึกษาโครงงานและเพื่อนร่วมชั้นเรียน

  6. ประเพณีบุญวันสารท(แซนโฎนตา)ประเพณีบุญวันสารท(แซนโฎนตา) ประเพณีโดน ตาเป็นประเพณีหนึ่งที่มีความสำคัญที่ปฏิบัติทอดกันมา อย่างช้านานของชนเผ่าเขมรเป็นการแสดงออก ถึงความกตัญญูต่อผู้มีพระ คุณ สะท้อนให้เห็นถึงความรักความกตัญญูของสมาชิกในครอบครัว

  7. ประเพณีงานแสดงช้าง • จังหวัดสุรินทร์ เป็นถิ่นฐานของชาวไทยเชื้อชาติสายกูย เป็นขนเผ่าที่เชี่ยวชาญการจับช้าง เลี้ยงช้าง และฝึกช้างมาแต่อดีตกาล แม้วันนี้การคล้อง ช้างป่าจะยุติไปแล้วแต่พวกเขายังเลี้ยงช้างไว้ดั่งสัตว์เลี้ยงของครอบครัว ชาวสุรินทร์ได้เคยทำชื่อเสียงให้แต่ประเทศไทยมาแล้ว และเมื่อ"การแสดง ของช้าง" ได้ถือกำเนิดขึ้นมาเมื่อ พ.ศ. 2503 ทำให้นามของจังหวัดสุรินทร์ เป็นที่รู้จักกันดีในหมู่นักท่องเที่ยวทั้งไทยและชาวต่างประเทศ

  8. งานประเพณีบวชนาคแห่ช้างงานประเพณีบวชนาคแห่ช้าง • ประเพณี บวชช้าง จัดขึ้นในวันขึ้น 13-15 ค่ำ เดือน 6 (ราวกลางเดือน พฤษภาคมของทุกปี) ณ วัดแจ้งสว่าง บ้านตากลาง อ.ท่าตูมจะมีการแห่แหน บรรดานาคด้วยขบวนช้างกว่า 50 เชือก ข้ามลำน้ำมูลกันอย่างเอิกเกริก, พิธีโกนผมนาค

  9. ประเพณีโกนจุก • ชาวสุรินทร์ ในอดีตนิยมไว้ผมให้กับเด็กๆ เนื่องจากมีความเชื่อว่า ผม จุกตรงกระหม่อมช่วยกันไม่ให้ กระหม่อมที่บาง โดนน้ำค้างซึ่งอาจทำให้เด็ก เป็นหวัดได้ พออายุประมาณ 9,11,13 ขวบ ซึ่งโตแล้วต้องทำพิธีตัดจุกออก เสียพิธีโกนจุกจึงมีขึ้น

  10. บรรณานุกรม • http://detailraum.blogspot.com/ • http://www.youtube.com/watch?v=0hMKv- 5y11E&feature=relmfu • http://www.youtube.com/watch?v=azIlEWnfRDs&feature=relmfu • http://202.143.165.36/~klamore/1.html • http://www.openbase.in.th/node/3942 • http://www.youtube.com/watch?v=I3QEsjiOfKc • http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A3

  11. จบการนำเสนอแล้วค่ะ

More Related