1 / 48

แ นวทางการจัดการงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550

แ นวทางการจัดการงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550. โดย นางดวงสมร วรฤทธิ์ รองผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ. ก ารทบทวนและ ก ารวางแผนงบประมาณ. แนวทาง ในการจัดการงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2550. สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2550 ตามกรอบยุทธศาสตร์ของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน

kasi
Download Presentation

แ นวทางการจัดการงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการจัดการงบประมาณรายจ่ายแนวทางการจัดการงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 โดย นางดวงสมร วรฤทธิ์ รองผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ สำนักงบประมาณ

  2. การทบทวนและการวางแผนงบประมาณการทบทวนและการวางแผนงบประมาณ สำนักงบประมาณ

  3. แนวทางในการจัดการงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2550 • สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2550 ตามกรอบยุทธศาสตร์ของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน • ดำเนินนโยบายงบประมาณสมดุลอย่างต่อเนื่อง • ควบคุมรายจ่ายประจำเพื่อให้มีรายจ่ายลงทุนเพียงพอ • เน้นความสมดุลระหว่างนโยบายทางสังคมและเศรษฐกิจ • เน้นภารกิจที่มีความต่อเนื่องตามยุทธศาสตร์ของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน /Flagship/ Mega projects • ทบทวน ชะลอ ยกเลิกภารกิจซ้ำซ้อนระหว่างส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น • พิจารณาแหล่งเงินอื่นนอกเหนือจากแหล่งเงินงบประมาณ สำนักงบประมาณ

  4. การเตรียมความพร้อมเบื้องต้นเพื่อการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 • ส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ ร่วมกับสำนักงบประมาณ • ทบทวนเป้าหมาย กลยุทธ์ ผลผลิต กิจกรรมและตัวชี้วัด ผลสำเร็จในปีงบประมาณ 2549 • ติดตามผลการดำเนินงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณในปี 2548 • ส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ ร่วมกับสงป. สศช. และกพร. • ทบทวนแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2550 • ส่วนราชการ ปรับปรุงฐานข้อมูลงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง และจัดทำประมาณการรายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น สำนักงบประมาณ

  5. การทบทวนต.ค.-ธ.ค.48 กระบวนการจัดทำงบประมาณ การอนุมัติมิ.ย.-ก.ย.49 การวางแผนพ.ย.48-ม.ค.49 การจัดทำม.ค.-พ.ค.49 ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ

  6. ค.ร.ม.ให้ความเห็นชอบการเตรียมการ จัดทำงบประมาณและปฏิทิน งบประมาณงบประมาณ ปี 2550 ทบทวน 18 ต.ค. 48 อนุมัติ วางแผน • ส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ ร่วมกับ สงป.- ทบทวนเป้าหมาย กลยุทธ์ ผลผลิต กิจกรรมและตัวชี้วัด ผลสำเร็จในปี งบประมาณ 2549 • - ติดตามผลการดำเนินงานและ ผลการใช้จ่ายงบประมาณในปี งบประมาณ 2548 ต.ค.-พ.ย.48 จัดทำ ต.ค.-ธ.ค.48 • ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ สงป. สศช. และกพร.ร่วมกันทบทวนแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2550 เสนอรมต.ให้ความเห็นชอบ และส่ง สงป. ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ

  7. พ.ย.-ธ.ค.48 • ปรับปรุงฐานข้อมูลงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางให้สอดคล้องแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • จัดทำประมาณการรายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็นให้สอดคล้องกับฐานข้อมูลรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง • ก.การคลัง สงป. สศช. และธปท.ประชุมเพื่อทบทวนประมาณการรายได้ วงเงินงบประมาณ และโครงสร้างงบประมาณ ตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อจัดทำข้อเสนอนโยบายงบประมาณ • สงป. ร่วมกับ สศช.พิจารณาทบทวนและจัดทำข้อเสนอเป้าหมาย และยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี ทบทวน อนุมัติ วางแผน จัดทำ 17 ม.ค.49 • ค.ร.ม.ให้ความเห็นชอบนโยบาย งบประมาณวงเงิน โครงสร้าง งบประมาณ และยุทธศาสตร์การจัดสรร งบประมาณรายจ่ายประจำปี ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ

  8. 18-24 ม.ค.49 • รองนายกฯที่รับผิดชอบ/รมต.มอบนโยบายให้กระทรวง ส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ จัดทำเป้าหมาย ยุทธศาสตร์กระทรวง แผนปฏิบัติราชการประจำปีพ.ศ. 2550 ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ4 ปีฯ ทบทวน อนุมัติ วางแผน 25ม.ค.-23ก.พ.49 จัดทำ • ส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ จัดทำรายละเอียด วงเงินและคำของบประมาณ และประมาณการรายได้เสนอกระทรวง รมต. และรองนายกฯให้ความเห็นชอบและส่ง สงป. 24ก.พ-10 เม.ย.49 • สงป.พิจารณาและจัดทำรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปีในทุกมิติให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของรัฐบาลพร้อมหลักเกณฑ์การปรับปรุงงบประมาณ เพื่อนำเสนอค.ร.ม.ให้ความเห็นชอบ 18 เม.ย.49 • ค.ร.ม.พิจารณาให้ความเห็นชอบรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ พร้อมหลักเกณฑ์ การปรับปรุงงบประมาณ ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ

  9. 19-25 เม.ย.49 ทบทวน • รองนายกฯที่รับผิดชอบ/รมต.มอบนโยบายให้กระทรวง ส่วนราชการ และรัฐสาหกิจ พิจารณาปรับปรุงรายละเอียด งบประมาณฯ และส่ง สงป. อนุมัติ วางแผน 26 เม.ย-8 พ.ค.49 จัดทำ • สงป.พิจารณาปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี เสนอรองนายกฯเพื่อนำเสนอค.ร.ม.ให้ความเห็นชอบ 9 พ.ค.49 • ค.ร.ม.ให้ความเห็นชอบการปรับปรุงงบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ • สงป. จัดพิมพ์ร่างพ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายฯ และเอกสารงบประมาณ 10-19 พ.ค.49 • ค.ร.ม.ให้ความเห็นชอบร่างพ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ และนำเสนอสภาผู้แทนราษฎร 23 พ.ค.49 ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ

  10. ทบทวน 14-15 มิ.ย.49 • สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาในวาระที่ 1 อนุมัติ วางแผน 23-24 ส.ค.49 จัดทำ • สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาในวาระที่ 2-3 11-12 ก.ย.49 • วุฒิสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างพ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายฯ 19 ก.ย.49 • สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีนำร่างพ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายฯทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมายต่อไป ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ

  11. การทบทวน 2549 เพื่อจัดทำ 2550 การทบทวนภารกิจตามยุทธศาสตร์ การทบทวนภารกิจประจำ การทบทวนค่าใช้จ่ายของแต่ละภารกิจ สำนักงบประมาณ

  12. ขั้นตอนที่ 1 พิจารณาเป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ ขั้นตอนที่ 2 พิจารณาเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์เป้าหมายการให้บริการ ทบทวนผลผลิต/โครงการ ขั้นตอนที่ 4 ทบทวนกิจกรรม ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนการทบทวน สำนักงบประมาณ

  13. ขั้นตอนที่ 6 กำหนดตัวชี้วัดผลผลิต ขั้นตอนการทบทวน (ต่อ) 1. กำหนด 4 มิติ คือ ด้านปริมาณ ด้านคุณคุณภาพ ด้านระยะเวลา ด้านค่าใช้จ่าย/ต้นทุน 2. แนวทางในการกำหนดค่าหรือเกณฑ์วัด • ใช้สถิติเดิมของหน่วยงาน • เป็นไปตามหลักวิชาการเฉพาะ • ในกรณีที่ไม่สามารถกำหนดระยะเวลาการผลิตได้ชัดเจน อาจใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานของกิจกรรมหลักก็ได้ • ในมิติค่าใช้จ่าย สำนักงบประมาณ

  14. กรอบและแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการเพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินกรอบและแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการเพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน แผนการบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี (2548-2551) ผลักดันและบูรณาการยุทธศาสตร์ตามแผนการบริหารราชการแผ่นดินไปสู่การปฏิบัติ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2548-2551) - เครื่องมือทบทวนแผนให้ทันสมัยและสอดคล้องกับสถานการณ์ - เป็นกรอบในการจัดทำคำของบประมาณประจำปี แผนปฏิบัติราชการประจำปี (2550) การจัดทำแผนงบประมาณที่สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี สำนักงบประมาณ

  15. ประมาณการรายรับ-รายจ่ายชัดเจนเน้นการบูรณาการและความสำเร็จตาม Agenda แผนการบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี (2548-2551) วงเงินสูงกว่ากรอบตามแผนการบริหารฯ เน้นความสำเร็จตาม Functionขาดการบูรณาการ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2548-2551) แนวโน้มสูงกว่ากรอบวงเงินจำนวนมากแนวโน้มไม่เน้นผลสำเร็จในภาพรวมต่างคนต่างคิด ต่างคนต่างทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปี (2550) สถานภาพปัจจุบัน สำนักงบประมาณ

  16. ประสานงาน กำกับดูแล ติดตามผล/รายงาน คัดเลือก/กลั่นกรอง บทบาทของหน่วยงานเจ้าภาพประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงานเจ้าภาพประเด็นยุทธศาสตร์(ย่อย) สำนักงบประมาณ

  17. หลักเกณฑ์การพิจารณา ศึกษา ทบทวน กำหนดตัวชี้วัดและวงเงินงบประมาณ จัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน กำกับดูแลและกรอบวงเงินตามประเด็นยุทธศาสตร์ ขจัดปัญหาความซ้ำซ้อนของผลผลิต/โครงการหรือกิจกรรมระหว่างหน่วยงาน สำนักงบประมาณ

  18. หลักเกณฑ์การพิจารณา (ต่อ) • เป็นอำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน • ได้รับการจัดสรรงบประมาณในปี 2549 และควรดำเนินการต่อเนื่องในปี 2550 • เป็นหน่วยงานใหม่ที่ควรมาเติมเต็มเพื่อการบรรลุเป้าหมาย สำนักงบประมาณ

  19. หลักเกณฑ์การพิจารณา (ต่อ) • สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดินและยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณประจำปี • มีความสำคัญทางกลยุทธ์ต่อความสำเร็จตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่กำหนด • ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรมมีความเชื่อมโยงและสนับสนุนซึ่งกันและกันอย่างเหมาะสมทั้งในเชิงปริมาณ คุณภาพ และเวลาการส่งมอบ สำนักงบประมาณ

  20. หลักเกณฑ์การพิจารณา(ต่อ)หลักเกณฑ์การพิจารณา(ต่อ) ค่าใช้จ่าย เนื้องาน • ต้องดำเนินการและหลีกเลี่ยงไม่ได้ • รองรับกฎหมาย • มีสัญญาหรือข้อผูกพันหรือมีเงื่อนไขที่ต้องจ่าย • 2) ควรดำเนินการ • Flagship • Mega Projects • นโยบายสำคัญของรัฐบาล • ประหยัดและตามความจำเป็นที่ • สอดคล้องกับความพร้อม ขีดความสามารถและความเหมาะสมของงานบนพื้นฐานของความเป็นไปได้ในการดำเนินงาน • เป็นการใช้จ่ายภายในปีงบประมาณ สำนักงบประมาณ

  21. คนพร้อม ดำเนินการได้ทันที เทคนิคพร้อม องค์ความรู้ วิธีการ เครื่องมือ แบบรูป คุณลักษณะและพื้นที่พร้อม ผลงานที่ผ่านมา ผลดำเนินงาน ผลการเบิกจ่าย ปริมาณงานเหมาะสม เปรียบเทียบกับปริมาณงานที่ขอกับขีดความสามารถที่มี ความพร้อมและขีดความสามารถ สำนักงบประมาณ

  22. ความคุ้มค่าในการลงทุนความคุ้มค่าในการลงทุน ประโยชน์ที่พึงได้กับรายจ่ายที่เสียไป ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ อัตราผลตอบแทน (IRR) ความคุ้มค่าทางสังคม ประสิทธิผล ความเหมาะสมด้านการเงิน ภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ความเหมาะสม สำนักงบประมาณ

  23. แนวทางการจัดทำ Pre-ceiling วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิด ขั้นตอนสำคัญต่างๆ สำนักงบประมาณ

  24. วัตถุประสงค์ • เพื่อเป็นการประเมินเบื้องต้นสำหรับค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน ในการดำเนินนโยบายของรัฐบาลและภารกิจตามที่กฎหมายกำหนด • เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนของหน่วยงานในการทบทวนแผนปฏิบัติราชการสี่ปี และประจำปีและเสนอของบประมาณปี 2550 สำนักงบประมาณ

  25. แผนการบริหารราชการแผ่นดินแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี MTEF สถานการณ์แวดล้อม+นโยบายใหม่ แผนปฏิบัติราชการประจำปี งบประมาณ ร่าง พ.ร.บ. ประจำปีฯ Bottom-up Request Top-down Ceiling กรอบแนวคิด • Top-down Budgeting สำนักงบประมาณ

  26. กรอบแนวคิด (ต่อ) • Pre-ceiling 2 มิติ • มิติหน่วยงาน(Functional Budget Ceiling) • มิติยุทธศาสตร์(Agenda Budget Ceiling) • ข้อมูล Bottom-upสะท้อนข้อเท็จจริงภาระค่าใช้จ่ายของหน่วยปฏิบัติและความต้องการบริการภาครัฐของประชาชน สำนักงบประมาณ

  27. ขั้นตอนสำคัญในการจัดทำ Pre-ceiling • พิจารณากรอบวงเงินรวม (Macro Overview) • ทบทวนขอบเขต(Coverage Review) • กำหนดเป้าหมาย(Target Identifying) • กำหนดรายจ่าย(Expense Estimation) • วิเคราะห์ความเชื่อมโยง(Input-Output /Outcome Consistency) • ทบทวนลำดับความสำคัญ (Priority Revision) สำนักงบประมาณ

  28. การจัดทำงบประมาณ สำนักงบประมาณ

  29. 1. แนวโน้มเศรษฐกิจและนโยบายงบประมาณปี 2550 • แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจ • GDP ขยายตัวต่อเนื่องจากปี 2548 ประมาณร้อยละ 5.5 – 6.0 • อัตราเงินเฟ้อประมาณร้อยละ 3.4 • นโยบายงบประมาณ • ดำเนินนโยบายงบประมาณแบบสมดุล ต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2549 • ใช้แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548 -2551เป็นกรอบนโยบาย • ทบทวนภารกิจและบทบาทหน่วยงาน เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามโครงการสำคัญและโครงการลงทุนขนาดใหญ่ • สนับสนุนการวางโครงสร้างพื้นฐาน และกำหนดรายจ่ายลงทุนไม่ต่ำกว่าปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 • เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ และการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐ • ส่งเสริมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควบคู่กับการเสริมสร้างความสามารถของท้องถิ่นในการจัดหารายได้เอง สำนักงบประมาณ

  30. 2. ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 กรอบแนวคิด • ความต่อเนื่องในการดำเนินนโยบายจากปี 2549 • ทบทวนให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ทางสังคมและเศรษฐกิจ • ให้ความสำคัญกับแนวคิดและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) • 9 ประเด็นยุทธศาสตร์ + รายการค่าดำเนินการภาครัฐ สำนักงบประมาณ

  31. เป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ 4 ประการ • ขจัดความยากจนและความมั่งคั่งกระจายไปสู่ทุกภาคส่วน • สังคมไทยเป็นสังคมที่มีคุณภาพ • โครงสร้างเศรษฐกิจมีความสมดุลยิ่งขึ้น • การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนเป็นพลังงานในการขับเคลื่อนประเทศ สำนักงบประมาณ

  32. ยุทธศาสตร์ขจัดความยากจนยุทธศาสตร์ขจัดความยากจน 1 ยุทธศาสตร์พัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ 2 ยุทธศาสตร์ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ 3 ยุทธศาสตร์บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4 ยุทธศาสตร์การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 5 ยุทธศาสตร์พัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมือง 6 7 ยุทธศาสตร์ส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม 8 ยุทธศาสตร์รักษาความมั่นคงของรัฐ ยุทธศาสตร์รองรับการเปลี่ยนแปลงและพลวัตรโลก 9 รายการค่าดำเนินการภาครัฐ 10 ยุทธศาสตร์การจัดสรรปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ

  33. จุดเน้นในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์จุดเน้นในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ • แก้ไขปัญหาเร่งด่วน • ตอบสนองต่อความสำเร็จของเป้าหมายในระยะสั้น • ก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • นโยบายใหม่ของรัฐบาล และมีความพร้อมในการดำเนินการ • บูรณาการเกี่ยวเนื่องกับส่วนอื่นๆ หากไม่ดำเนินการจะทำให้กระบวนการทั้งหมดไม่บรรลุสู่เป้าหมาย • วางรากฐานที่ดีเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย โดยจำเป็นต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องและใช้ระยะเวลา สำนักงบประมาณ

  34. 1. ยุทธศาสตร์การขจัดความยากจน • แก้ไขอย่างครบวงจร 3 ระดับ (ประเทศ / ชุมชน / บุคคล) • กำหนดกลุ่มยากจนเป้าหมาย • เศรษฐกิจพอเพียง • การพึ่งพาตนเอง • เสริมโอกาส เพิ่มทางเลือกให้แก่คนยากจน • โครงสร้างพื้นฐานเพื่ออาชีพ การทำกิน สำนักงบประมาณ

  35. 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ • พัฒนาคนและสังคมให้ครบทุกมิติ • สังคมฐานความรู้ • มีภูมิคุ้มกันทางวัฒนธรรม สมานฉันท์และสันติสุข • สุขภาพสมบูรณ์ สาธารณสุขทั่วถึง และมีคุณภาพ • ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • เตรียมความพร้อมแก่ผู้สูงอายุ • เมืองน่าอยู่ สำนักงบประมาณ

  36. 3. ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ • ด้านตัวสินค้า ให้ความสำคัญกับการเพิ่มมูลค่ามากกว่าปริมาณผลผลิต • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นต่อการผลิตและการแข่งขัน • พัฒนาประสิทธิภาพผู้ประกอบการเกี่ยวกับการบริหารจัดการกระบวนการหลังจากการผลิต • ปรับโครงสร้างในระดับภาคการผลิต สำนักงบประมาณ

  37. 4. วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 จากปัจจัยทางเศรษฐกิจ และสถานะทางการเงินการคลังของประเทศ นโยบาย งปม. 50 งบประมาณสมดุล วงเงินงบประมาณรายจ่าย จำนวน 1,476,000 ล้านบาท สำนักงบประมาณ

  38. โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สำนักงบประมาณ

  39. ทบทวนบทบาทและภารกิจของหน่วยงานที่ไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การดำเนินงานของรัฐบาล(Redeploy)และการจัดลำดับความสำคัญ (Prioritize) • ทบทวนภารกิจตามยุทธศาสตร์ ทบทวนภารกิจของหน่วยงานให้คงเหลือเฉพาะที่สอดคล้องกับเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ระดับชาติโดยตรง • ทบทวนภารกิจพื้นฐาน ทบทวนภารกิจสำคัญของหน่วยงานที่ดำเนินการตามกฎหมายหรือที่ได้รับ มอบหมาย ลักษณะงานเป็นงานประจำ โดยเลือกเฉพาะที่เกิดประโยชน์ คุ้มค่าต่อประชาชนผู้รับบริการ • ทบทวนค่าใช้จ่าย ทบทวนค่าใช้จ่ายของแต่ละภารกิจที่สามารถประหยัดได้ บูรณาการใช้ ทรัพยากรร่วมกัน • ทบทวนผลผลิต โครงการ กิจกรรม และเป้าหมาย พิจารณาจากผลการดำเนินงานที่ผ่านมา หรือเป็นภาระงบประมาณในระยะ ยาวโดยเฉพาะรายจ่ายประจำ สำนักงบประมาณ

  40. แนวทางในการจัดทำและเสนอของบประมาณ ปี 2550 • จัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • สอดรับกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548 – 2551 • สามารถเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาลต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 • สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2550 ของส่วนราชการ • ส่งสำนักงบประมาณ ภายในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2549 สำนักงบประมาณ

  41. แนวทางในการจัดทำและเสนอของบประมาณ ปี 2550 การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2550 ของส่วนราชการ • สอดคล้องกับนโยบายและแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548 – 2551 เป็นกรอบในการจัดทำคำของบประมาณ ตามนัยมาตร 16 แห่ง พรฏ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 สำนักงบประมาณ

  42. แนวทางในการจัดทำและเสนอของบประมาณ ปี 2550 รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี • ร่วมกับรัฐมนตรีมอบนโยบาย เพื่อผลักดันประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ไปสู่การปฎิบัติ • กำกับดูแลบูรณาการงบประมาณในมิติยุทธศาสตร์ มิติกระทรวง/หน่วยงาน และมิติพื้นที่ สำนักงบประมาณ

  43. แนวทางในการจัดทำและเสนอของบประมาณ ปี 2550 รัฐมนตรี • มอบนโยบายให้กระทรวง และหน่วยงาน • กำหนดเป้าหมายสำคัญตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน • จัดลำดับความสำคัญทางยุทธศาสตร์ • บูรณาการมิติงานตามยุทธศาสตร์ของแผนการบริหารราชการแผ่นดินและมิติงานยุทธศาสตร์พื้นที่ เข้าสู่งานตามยุทธศาสตร์กระทรวง/หน่วยงาน สำนักงบประมาณ

  44. แนวทางในการจัดทำและเสนอของบประมาณ ปี 2550 กระทรวง ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ • วิเคราะห์ความเชื่อมโยง และกลั่นกรอง • เป้าหมายเชื่อมโยงและส่งผลต่อความสำเร็จของเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ • ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ ชัดเจนและนำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย • ทบทวนเป้าหมาย ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และรายจ่ายในทุกมิติ • ปรับเปลี่ยน เป้าหมาย กลยุทธ์ ให้เป็นไปตามนโยบายรัฐบาล • ใช้หลักการบริหารที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดค่าใช้จ่าย • ชะลอ ปรับลด ยกเลิก สิ่งที่หมดความจำเป็นหรือซ้ำซ้อนกันระหว่างมิติงานต่างๆ • ให้ความสำคัญกับ Mega Project / Flagship Project / กลุ่มจังหวัดและจังหวัด • ทบทวนภารกิจ เพิ่มเติมให้แก่ อปท. สำนักงบประมาณ

  45. แนวทางในการจัดทำและเสนอของบประมาณ ปี 2550 การจัดทำข้อเสนองบประมาณสำหรับจังหวัดตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด / จังหวัดแบบบูรณาการ • จัดทำข้อเสนองบประมาณที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ • สนับสนุนการบริหารงานจังหวัด CEO ตามยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด / จังหวัด สำนักงบประมาณ

  46. คู่มือการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 • ระบบคำของบประมาณอิเล็กทรอนิกส์ • ส่งภายในวันที่ 23 ก.พ. 49 • สอดรับกับแผนยุทธศาสตร์ของแผนการบริหาร • ราชการแผ่นดิน มิติงานตามยุทธศาสตร์พื้นที่ มิติงานกระทรวงและหน่วยงาน สำนักงบประมาณ

  47. คู่มือการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 • เพิ่มการพิจารณา เรื่องสำคัญ 5 เรื่อง รองรับการพิจารณา • ของคณะกรรมาธิการ • - ด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ • - ด้านสิ่งก่อสร้าง • - ด้านแผนการบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ • - ด้านการฝึกอบรม สัมมนา ประชาสัมพันธ์ จ้างที่ปรึกษา วิจัย • ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ • - ด้านเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงบประมาณ

  48. คู่มือการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 • คิดค่าใช้จ่ายกระจายตามกิจกรรม / ผลผลิต • ขอทำความตกลงเพื่อขอรหัสใหม่ก่อนจัดทำคำของบประมาณ • การจำแนกรายจ่ายให้ถือปฏิบัติตามหลักการจำแนก • ประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ • จัดส่งงบดุล (งบทางการเงิน) ปี 2548 เงินนอกงบประมาณที่ไม่ได้นำส่งคลัง เพื่อพิจารณาความครอบคลุมงบประมาณ สำนักงบประมาณ

More Related