1 / 27

โปรแกรม NTSCORE

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง การตัดเกรดด้วยคอมพิวเตอร์ วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์. เวลา 13.00 น . – 17.00 น. วันอังคารที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ณ อาคารมหิตลาธิเบศร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร. โปรแกรม NTSCORE.

karlyn
Download Presentation

โปรแกรม NTSCORE

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษาเรื่อง การตัดเกรดด้วยคอมพิวเตอร์วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา 13.00 น . – 17.00 น. วันอังคารที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ณ อาคารมหิตลาธิเบศร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร

  2. โปรแกรม NTSCORE • เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยกำหนดระดับคะแนนจากคะแนนสอบหลายชุด โดยการแปลงคะแนนให้เป็นคะแนนมาตรฐานทีก่อน คะแนนเหล่านี้ไม่ต้องผ่านการตรวจสอบหรือการวิเคราะห์รายข้อด้วยโปรแกรม CTAI มาก่อน โปรแกรมนี้ช่วยในการกำหนดระดับคะแนน (ตัดเกรด) 1 วิธีและ 2 ระบบ

  3. โปรแกรม NGRADE • เป็นโปรแกรมช่วยกำหนดระดับคะแนนจากผลการสอบแบบปรนัย 1 ชุดเท่านั้นและแบบทดสอบนี้จะต้องผ่านการตรวจให้คะแนนหรือวิเคราะห์รายข้อแล้วด้วยโปรแกรม CTAI มาก่อน โปรแกรมนี้ช่วยในการกำหนดระดับคะแนน (ตัดเกรด) 6 วิธีและ 2 ระบบ

  4. วิธีการกำหนดระดับคะแนนวิธีการกำหนดระดับคะแนน • การวัด (Measurement) หมายถึง การบรรยายเชิงปริมาณที่แสดงว่าผู้เรียนสัมฤทธิ์ผลการเรียนมากน้อยเพียงใด • การประเมินผล (Evaluation) หมายถึงกระบวนการตัดสินใจอย่างมีระบบว่าผู้เรียนสามารถสัมฤทธิ์ผลการเรียนในเชิงปริมาณหรือเชิงคุณลักษณะรวมทั้งคุณค่ามากน้อยเพียงใด

  5. เครื่องมือการวัดและการประเมินผลการเรียนเครื่องมือการวัดและการประเมินผลการเรียน • แบบทดสอบ • แบบสอบถาม • แบบประเมิน • แบบสัมภาษณ์ • แบบสังเกต • มาตรวัดมิติ • กิจกรรมการเรียน • แบบประเมินตนเอง • ชิ้นงานต่างๆ

  6. ประเภทของการประเมินและปรัชญาที่เกี่ยวข้องประเภทของการประเมินและปรัชญาที่เกี่ยวข้อง • การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์และแบบอิงปริเขต • การประเมินผลแบบอิงตนเอง • การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม • การประเมินค่าตามความเป็นจริง

  7. ปรัชญาการประเมินผลและการกำหนดระดับคะแนนปรัชญาการประเมินผลและการกำหนดระดับคะแนน • ระดับคะแนน • แนวคิดด้านการเรียนและการประเมินผล

  8. วิธีการเรียนและการประเมินผลวิธีการเรียนและการประเมินผล • ปรัชญาการเรียนรู้ของนักพฤติกรรมนิยม • ปรัชญาการเรียนรู้ของนักมนุษยนิยม • ปรัชญาการเรียนรู้ของนักปฏิบัติการนิยม • ปรัชญาการเรียนรู้ของนักวิศนุกรรมนิยม

  9. ปรัชญาการเรียนรู้ของนักพฤติกรรมนิยมปรัชญาการเรียนรู้ของนักพฤติกรรมนิยม • ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดสกินเนอร์ (Skinner) และคณะ • เชื่อว่าเงื่อนไขที่ดีที่สุดของการเรียนรู้เกิดจากบทเรียนที่กำหนดไว้ล่วงหน้าแล้วอย่างดี • การเรียนรู้ที่ดีเกิดจากการนำเสนอเนื้อหาหน่วยย่อยที่มีความสัมพันธ์กันเป็นอย่างดีทีละน้อย เพื่อให้ผู้เรียนประสบผลสำเร็จ • การเรียนรู้ความมีเสริมแรงทั้งทางบวกและทางลบ

  10. การเรียนและประเมินผลของนักพฤติกรรมนิยมการเรียนและประเมินผลของนักพฤติกรรมนิยม • บอกให้ผู้เรียนรู้วัตถุประสงค์ของแต่ละบท • ผู้สอนกำหนดมาตรฐานของผลสัมฤทธิ์ล่วงหน้าขึ้นเอง หรืออิงเกณฑ์ที่นิยม • ใช้แบบทดสอบวินิจฉัยหลังจากสอนแต่ละบท • ให้งานเสริมแก่ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่าเกณฑ์ • ให้เวลาเรียนเพิ่มแก่ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่าเกณฑ์ • เน้นการเรียนแบบตามระดับความสามารถและประเมินผลแบบอิงเกณฑ์

  11. ปรัชญาการเรียนรู้ของนักมนุษยนิยมปรัชญาการเรียนรู้ของนักมนุษยนิยม • ได้รับอิทธิพลแนวคิดจาก Illich และ Kozol • มีความเชื่อว่า การเรียนรู้ที่ดีผู้เรียนควรมีความสุขในการเรียน เรียนตามความสามารถของตนเอง และเรียนสิ่งที่ตนเองถนัดและสนใจ

  12. การเรียนและประเมินผลของนักมนุษยนิยมการเรียนและประเมินผลของนักมนุษยนิยม • ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดวัตถุประสงค์ในการเรียน • ให้เวลาและเสรีภาพผู้เรียนเต็มที่ในการเรียนรู้ในสิ่งที่ตนเองสนใจ • ในความสำคัญการเรียนด้านพุทธิปริเขตมากเท่ากับด้านจิตปริเขต • เน้นความเป็นกันเองระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน • เน้นการเรียนแบบร่วมมือในระดับ และประเมินผลแบบอิงตนเอง

  13. ปรัชญาการเรียนรู้ของนักปฏิบัติการนิยมปรัชญาการเรียนรู้ของนักปฏิบัติการนิยม • ได้รับแนวคิดมาจาก William James • เชื่อว่าสิ่งที่ผู้เรียนควรเรียนรู้ได้แก่สิ่งที่จะมีคุณค่าหรือประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของผู้เรียนในอนาคต • ผู้เรียนควรต้องเรียนรู้ทักษะและความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในอนาคตอย่างน้อยในระดับที่จะเอาชีวิตรอดได้

  14. การเรียนและประเมินผลของนักปฏิบัติการนิยมการเรียนและประเมินผลของนักปฏิบัติการนิยม • เรียนรู้สิ่งที่จำเป้นต่อชีวิตในอนาคต • ช่วยผู้เรียนค้นหาจุดเด่นและจุดด้อยของตนเอง • มุ่งพัฒนาจุดเด่นของผู้เรียนเพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพ • มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ในระดับต่ำสุดที่ยอมรับได้ • เน้นการเรียนแบบเพื่อมีชีวิตรอดและประเมินผลแบบอิงกลุ่ม

  15. ปรัชญาการเรียนรู้ของนักวิศนุกรรมนิยมปรัชญาการเรียนรู้ของนักวิศนุกรรมนิยม • ได้รับอิทธิพลแนวคิดมาจาก Socrates, Ernest, Glasersfeld และอื่นๆ • เชื่อว่าการเรียนรู้ที่ดีเกิดจากประสบการณ์ตรงของผู้เรียน • ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้และความเข้าใจสิ่งต่างๆ จากโลกของผู้เรียนได้เอง • ผู้เรียนแต่ละคนสามารถสร้างกฏเกณฑ์และรูปแบบทางความคิดได้เองจาก ประสบการณ์ของตนเอง • การเรียนรู้คือกระบวนการปรับรูปแบบทางความคิดของแต่ละบุคคลให้เหมาะสมกับประสบการณ์ใหม่

  16. การเรียนและประเมินผลของนักวิศนุกรรมนิยมการเรียนและประเมินผลของนักวิศนุกรรมนิยม • ผู้เรียนควรจะสามารถเรียนรู้สิ่งที่ตนเองต้องการจะเรียน • สิ่งที่เรียนรู้ควรเป็นสิ่งที่ใช้ได้จริงในชีวิต • ครูควรเป็นผู้อำนวยความสะดวก สนับสนุน และส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน • เน้นการเรียนแบบร่วมมือต่างระดับ และแบบให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง แล้วประเมินแบบอิงงาน หรือแบบอิงความสามารถจลน์ ด้วยแบบทดสอบทางเลือก

  17. กระบวนการในการกำหนดระดับคะแนนกระบวนการในการกำหนดระดับคะแนน

  18. วิธีกำหนดระดับคะแนนแบบอิงเกณฑ์วิธีกำหนดระดับคะแนนแบบอิงเกณฑ์ • คำนวณจากร้อยละของคะแนนดิบ • ข้อดีข้อเสีย • ข้อดีเข้าใจสำหรับผู้เรียน ผู้สอน และผู้ปกครอง • ข้อเสียควาหมายไม่ชัดเจน เป็นวิธีเชิงประดิษฐ์ที่ไม่น่าเชื่อถือ

  19. วิธีกำหนดระดับคะแนนแบบอิงเกณฑ์วิธีกำหนดระดับคะแนนแบบอิงเกณฑ์ • คำนวณจากปริมาณงาน ข้อดีข้อเสีย • ข้อดี แต่ละระดับคะแนนมีความหายชัดเจนและน่าเชื่อถือ • ข้อเสียความรู้ความสามารถด้านพุทธิพิสัยและจิตพิสัยคำนวณเป็นปริมาณได้ยาก การสร้างเกณฑ์มาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับใช้เวลานาน เหมาะสำหรับการประเมินผลด้าน Motor Skills

  20. วิธีกำหนดระดับคะแนนแบบอิงตนวิธีกำหนดระดับคะแนนแบบอิงตน • คำนวณจากคะแนนพัฒนาการ ข้อดีข้อเสีย • ข้อดี เข้าใจง่ายสำหรับผู้เรียน ผู้สอน และผู้ปกครอง • ข้อเสีย ผู้เรียนที่มีความรู้ดีหรือค่อนข้างดี มักเสียเปรียบผู้เรียนที่มีความรู้น้อย และแปลความคะแนนพัฒนาการติดลบยาก

  21. วิธีกำหนดระดับคะแนนแบบอิงกลุ่มวิธีกำหนดระดับคะแนนแบบอิงกลุ่ม • คำนวณโดยอาศัยโค้งปกติ ข้อดีข้อเสีย • ข้อดีมีเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ในการเปรียบเทียบความรุ้และความสามารถของผู้เรียนกับบุคลอื่นเป็นเกณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับทั่วไปของนักวัดและนักประเมินผล • ข้อเสีย ไม่เหมาะกับผู้เรียนจำนวนน้อย (น้อยกว่า 100 คน ) ไม่เหมาะกับกลุ่มผู้เรียนคัดสรร และผู้สอน ผู้เรียน ผู้ปกครองไม่ค่อยเข้าใจความหมาย

  22. วิธีการที่ใช้ • วิธีใช้ Preset Fixed Percentages of Testes • วิธีใช้ Normalized T-Score

  23. วิธีกำหนดระดับคะแนนแบบอิงกลุ่มวิธีกำหนดระดับคะแนนแบบอิงกลุ่ม • คำนวณโดยไม่อาศัยโค้งปกติล ข้อดีข้อเสีย • ข้อดีเหมาะกับจำนวนผู้เรียนมากและน้อยที่เป็นกลุ่มคัดสรร ผู้เรียน ผู้สอน ผู้ปกครองพอเข้าใจความหมาย เป็นเกณฑ์ที่นักวัดผลทั่วไปยอมรับ • ข้อเสีย ขาดเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ในการเปรียบเทียบความรู้และ ความสามารถของผู้เรียนกับบุคคลอื่น

  24. วิธีการที่ใช้ • วิธีใช้Range of Raw Score • วิธีใช้Range of Linear Score • วิธีใช้ Percentages of Raw Score • วิธีใช้ Percentages of Testes • วิธีใช้ Mean and S.D of Raw Score • วิธีใช้ Mean and SEM of Raw Score • วิธีใช้Grade Point Average  

  25. คำแนะนำในการรวมคะแนนต่างชุดและคิดระดับคะแนน (ตัดเกรด) • ควรแปลงคะแนนดิบแต่ละชุดเป็นคะแนนมาตรฐาน เช่น Z – Score • คูณคะแนนมาตรฐานด้วยค่าน้ำหนักความสำคัญของคะแนนแต่ละชุด • หาค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน • แปลงคะแนนเฉลี่ยเป็นคะแนนมาตรฐานแบบ T – Score • คิดระดับคะแนนโดยวิธีใช้Ringes of Linear T – Score • พิจารณาหาจุดตัดโดยการประเมินผลทั้งแบบอิงเกณฑ์และแบบอิงกลุ่มพร้อมกัน

  26. คำแนะนำทั่วไปในการตัดเกรดคำแนะนำทั่วไปในการตัดเกรด DO’S • สร้างข้อสอบให้มีความเที่ยงและความตรงสูงตามหลักสูตร • ตรวจสอบความเที่ยงตรงและความยุติธรรม • ประเมินผลทั้งแบบอิงเกณฑ์และแบบอิงกลุ่ม • ไม่จำเป็นต้องให้เกรดครบ • ยึดวัตถุประสงค์ของรายวิชา DON’Ts • รวมคะแนนต่างชุดโดยใช้คะแนนดิบ • ใช้ Normalized T - Score ตัดเกรดกับกลุ่มผู้เรียนที่คัดสรรหรือจำนวนน้อย • กำหนดจุดตัดโดยไม่คำนึงถึงความคลาดเคลื่อนต่างๆ ในการวัด

More Related