1 / 16

บทที่ 8

Computer for Daily Life. Assoc. Prof. Dr. Jeeraporn Werapun. Computer Science, KMITL. บทที่ 8. องค์ประกอบของข้อมูล. หัวข้อ. องค์ประกอบของข้อมูล การจัดการแฟ้มข้อมูล แฟ้มข้อมูลแบบลำดับ แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม แฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดัชนี ระบบฐานข้อมูล DBMS ระบบจัดการฐานข้อมูล

karik
Download Presentation

บทที่ 8

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Computer for Daily Life Assoc. Prof. Dr. Jeeraporn Werapun Computer Science, KMITL บทที่ 8 องค์ประกอบของข้อมูล

  2. หัวข้อ • องค์ประกอบของข้อมูล • การจัดการแฟ้มข้อมูล • แฟ้มข้อมูลแบบลำดับ • แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม • แฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดัชนี • ระบบฐานข้อมูล • DBMS ระบบจัดการฐานข้อมูล • ประเภทของฐานข้อมูล • SQL (Structure Query Language) Good planning plus hard work make for success. วางแผนดี + ทำงานหนัก = ความสำเร็จ

  3. 8.1องค์ประกอบของข้อมูล องค์ประกอบของข้อมูลที่นำมาประมวลผล บิต(Bit) เป็นหน่วยข้อมูลเล็กสุดมีค่า 0 หรือ 1 ไบท์(Byte) กลุ่มของบิตที่ใช้แทน 1 ตัวอักษร/ตัวเลข(เช่น 01000001 คือ A) ฟิลด์(Field) ประกอบด้วยหลายไบท์และมีความหมาย (เช่น ชื่อ-สกุล) รหัส 10020100 10000000 10020099 … 10000001 10000002 Annita Ana Brown ชื่อ-สกุล Sam Smith … … ที่อยู่ … … … … … … … … … … … เบอร์โทรศัพท์ • เรคอร์ด(Record) คือกลุ่มของฟิลด์ที่มีความสัมพันธ์กัน • ไฟล์ (File) / แฟ้มข้อมูล คือกลุ่มของเรคอร์ดที่เป็นเรื่องเดียวกัน

  4. 8.2การจัดการแฟ้มข้อมูล การจัดการแฟ้มข้อมูล (File Organization) เป็นเทคนิคการจัดเก็บข้อมูล การเข้าถึงข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล และการปรับปรุงข้อมูล ตัวอย่าง การบันทึกข้อมูลก่อนนำไปสร้างเป็น File

  5. การจัดการแฟ้มฯ ประเภทของแฟ้มข้อมูล แบ่งได้ 3 ประเภท แฟ้มข้อมูลแบบลำดับ แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม แฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดัชนี แฟ้มข้อมูลแบบลำดับ(Sequential File) 1269 1286 1267 1266 1265 • เป็นแฟ้มข้อมูลแบบแรกที่มีใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ • สามารถใช้งานได้ง่าย • ลักษณะโครงสร้างแฟ้มข้อมูล จะมีการเรียงลำดับ Records ใช้ Primary key เป็นตัวจัดเรียงบนสื่อแบบลำดับ เช่น เทป มีการเข้าถึงข้อมูลตามลำดับ

  6. การจัดการแฟ้มฯ แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม(Random File) • เป็นแฟ้มข้อมูลที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบ Direct Access • เก็บตำแหน่งข้อมูล และข้อมูล ที่สามารถเข้าถึง ด้วยการย้ายหัวอ่านไปยังตำแหน่งที่ระบุได้โดยตรง • สื่อจัดเก็บเป็นแบบ Direct เช่น Hard disk, CD-ROM, … • แฟ้มข้อมูลแบบลำดับเชิงดัชนี(Indexed Sequential File) • เป็นการรวมข้อดีของแบบลำดับและแบบสุ่มเข้าด้วยกัน • เหมาะกับงานที่มีข้อมูลเป็นจำนวนมาก

  7. การจัดการแฟ้มฯ ข้อดี/ข้อเสียของแฟ้มข้อมูล แต่ละประเภท ประเภท ข้อดี ข้อเสีย แบบลำดับ เสียค่าใช้จ่ายน้อย และใช้งานง่าย เสียเวลาเพราะต้องเริ่มค้นจากต้นไฟล์ ใช้กับงานที่เปลี่ยนแปลงแบบลำดับในปริมาณมากได้ ข้อมูลที่ใช้ ต้องเรียงลำดับก่อน สื่อที่ใช้เก็บเป็นเทปที่มีราคาถูก ไม่เหมาะกับงานที่มีการแก้ไขลบ/เพิ่มข้อมูลมาก ต้องใช้สื่อแบบ Random Access แบบสุ่ม สามารถทำงานได้เร็ว เพราะไม่ต้องเรียง เหมาะกับงานแบบ Online Transaction ไม่เหมาะกับงานที่มีข้อมูลปริมาณมาก การเขียนโปรแกรมเพื่อค้นข้อมูลจะซับซ้อน แบบลำดับ เชิงดัชนี สามารถรองรับการประมวลได้ทั้ง 2 แบบ ต้องใช้สื่อที่สนับสนุนทั้ง 2 แบบ เหมาะกับงานแบบ Online Transaction เสียเนื้อที่เก็บดัชนีที่ใช้เก็บตำแหน่งข้อมูล การเขียนโปรแกรมเพื่อค้นข้อมูลจะซับซ้อน ทำงานช้ากว่าแบบสุ่ม และค่าใช้จ่ายสูง

  8. 8.3ระบบฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูล (Database) เป็นการรวบรวมข้อมูล (Data) ที่เดิมเก็บเป็นไฟล์แยกแต่ละงาน โปรแกรม Personnel แฟ้มข้อมูลพนักงาน แฟ้มข้อมูลพนักงาน แฟ้มข้อมูล OT แฟ้มข้อมูลรายรับ/จ่าย แฟ้มข้อมูลอบรม/สัมมนา โปรแกรม Personnel แฟ้มข้อมูลพนักงาน แฟ้มข้อมูล OT แฟ้มข้อมูลรายรับ/จ่าย โปรแกรม Payroll DBMS โปรแกรม Payroll โปรแกรม Training แฟ้มข้อมูลพนักงาน แฟ้มข้อมูลอบรม/สัมมนา โปรแกรม Training • ให้เป็นการรวมไฟล์ไว้ที่เดียวกัน และมีระบบฐานข้อมูลเป็นตัวจัดการในการเข้าถึงข้อมูลที่สะดวกมากขึ้น ระบบไฟล์เดิม ระบบฐานข้อมูล (DBMS)

  9. 8.3.1 DBMS ข้อดีของ DBMS ง่ายในการเข้าถึงข้อมูลที่เป็นแบบเดียวกัน (ด้วยภาษา SQL) ง่ายในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ที่มี DBMS เป็นสื่อกลาง สะดวกในการรักษาความคงสภาพของข้อมูล แก้ปัญหาการจัดเก็บข้อมูลซ้ำซ้อนไว้หลายๆ ที่ • ระบบฐานข้อมูลDBMS (DataBase Management System) • เป็นSoftwareที่สร้างขึ้นเพื่อจัดการกับการเก็บข้อมูลโดยเฉพาะ และมีคุณสมบัติของข้อมูลและฐานข้อมูล • DBMS ช่วยให้เข้าถึงข้อมูลได้สะดวก

  10. DBMS • ระบบการจัดการฐานข้อมูล(DBMS) เป็น Software ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ ให้มีประสิทธิภาพ เช่น • ประมวลผลข้อมูลให้เป็นข้อมูลสารสนเทศที่มีประโยชน์ • เป็น Software ที่มีผู้ใช้หลายคนได้ • การสร้างและออกแบบฐานข้อมูล มีฟังก์ชัน 1. การพิมพ์ข้อมูลเข้าฐานข้อมูล 2. การจัดเรียงข้อมูล (เช่น เรียงตามชื่อลูกค้า) ฯลฯ

  11. 8.3.2ประเภทของฐานข้อมูล • ประเภทของฐานข้อมูล มีหลายชนิด 1. ฐานข้อมูลแบบ Flat-File (Flat-File DB) 2. ฐานข้อมูลแบบเชิงสำพันธ์ (Relational DB) 3. ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical DB) 4. ฐานข้อมูลเครือข่าย (Network DB) 5. ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (Object-oriented DB)

  12. ฐานข้อมูลFlat-File • File ฐานข้อมูล ที่ประกอบด้วย ตารางข้อมูล เพียง 1 ตาราง เรียกว่า ฐานข้อมูลแบบ Flat-File • มีประโยชน์สำหรับ • ผู้ใช้คนเดียว หรือ ผู้ใช้กลุ่มเล็กๆ • เช่น รายการที่อยู่ ข้อมูลที่ถูกเก็บ การจัดการและแก้ไขปรับปรุงสามารถทำได้ง่ายๆ

  13. ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ลูกค้า การสั่งซื้อ สินค้า Field ที่เชื่อมความสัมพันธ์ • ฐานข้อมูลแบบเชิงสำพันธ์ (Relational Database) • เป็นฐานข้อมูลที่สร้างจากกลุ่มของตาราง โดยใช้ Field ที่อยู่ใน 2 ตารางใดๆ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างตาราง • เป็นฐานข้อมูล ที่สามารถทำความเข้าใจง่าย จึงได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย มักประกอบด้วยตารางข้อมูล ดังนี้ • ข้อมูลลูกค้า (Customers), ข้อมูลการสั่งซื้อ (Orders), ข้อมูลสินค้า (Products)

  14. ฐานข้อมูลแบบอื่นๆ • ถึงแม้ว่าในบทนี้จะเน้นโครงสร้างเชิงสัมพันธ์ แต่ยังมี ฐานข้อมูลประเภทอื่นๆ อีกดังนี้ • ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Databases) • ฐานข้อมูลเครือข่าย (Network Databases) • ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (Object-oriented Databases)

  15. 8.3.3SQL SQL (Structure Query Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการเรียกค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล เป็นภาษาในยุคที่ 4 (4GL) มีการใช้งานง่าย เพียงบอกว่า ต้องการอะไร จากที่ไหน โดยที่ไม่ต้องบอกว่าจะนำข้อมูลนั้นออกมาจากฐานข้อมูลได้อย่างไร ประเภทของคำสั่ง SQLแบ่งเป็น 3 กลุ่ม 1. DDL (Data Definition Language) ใช้ในการกำหนดโครงสร้าง ชนิด และลักษณะของข้อมูล เช่น CREATE TABLE, .. 2. DML (Data Manipulation Language) ใช้ในการเรียกค้นข้อมูล เช่น SELECT, INSERT, UPDATE, .. 3. DCL (Data Control Language) ใช้ในการควบคุมสิทธิการใช้ข้อมูล ควบคุมการใช้ฐานข้อมูล

  16. Thank You • ขอขอบพระคุณภาพประกอบคำบรรยายจากหนังสือ 1. ประกอบพีซี โดย ปิยะ นากสงค์ / อัมรินทร์ เพ็ชรกุล 2. Introduction to Computers โดย Peter Norton 3. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ โดย ธีราวุธ ปัทมวิบูลย์ / สมรัฐ เชตนุช / วรพันธ์ สาระสุรีย์ภรณ์ / นิติ วิทยาวิโรจน์ 16

More Related