1 / 23

ภญ. วิมล สุวรรณเกษาวงษ์ ศูนย์ติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ

การพัฒนาเครื่องมือและวิธีการประเมินและ ตรวจจับสัญญาณเตือนภัย (Signal detection and assessment method). ภญ. วิมล สุวรรณเกษาวงษ์ ศูนย์ติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. การประชุมวิชาการเรื่อง คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกลเมืองไทยแข็งแรง

Download Presentation

ภญ. วิมล สุวรรณเกษาวงษ์ ศูนย์ติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาเครื่องมือและวิธีการประเมินและตรวจจับสัญญาณเตือนภัย(Signal detection and assessment method) ภญ. วิมล สุวรรณเกษาวงษ์ ศูนย์ติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา การประชุมวิชาการเรื่อง คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกลเมืองไทยแข็งแรง วันที่1-2 กันยายน 2548 ณ ศูนย์การแสดงสินค้าและการประชุมอิมแพค เมืองทองธานี

  2. การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยา(Pharmacovigilance)การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยา(Pharmacovigilance) Definition : “The science and activities relating to the detection, assessment, understanding and prevention of adverse effects or any other drug-related problems”

  3. Major aims of pharmacovigilance • Early detection of unknown adverse effects and interactions : Signal Detection • Detection of increases in frequency of (known) adverse effects • Identification of risk factors and mechanisms • Estimation of quantitative aspects of risks and benefits • Analysis and dissemination of information needed to improve drug prescribing and regulation The rational and safe use of medical drugs

  4. Signal Detection Process select a drug - adverse event association of possible interest ขาดเครื่องมือและวิธีการวิเคราะห์เชิงปริมาณ the preliminary assessment of the available evidence a follow-up of how the signal develops

  5. วัตถุประสงค์ • พัฒนาเครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูลอัตโนมัติเพื่อตรวจจับสัญญาณ • พัฒนาเครื่องมือและวิธีหาความสัมพันธ์ระหว่างคู่ยาที่สงสัยกับอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้น จากฐานข้อมูล ( drug - adverse event association)

  6. วิธีการดำเนินงาน • ทบทวนวรรณกรรม • ประชุมผู้เชี่ยวชาญและเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง • เพื่อพัฒนาวิธีวิเคราะห์ที่เหมาะสม • พัฒนาโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลและตรวจจับสัญญาณอัตโนมัติ • ทดสอบโปรแกรมกับกับฐานข้อมูล

  7. วิธีการวิเคราะห์ • หลักการวิเคราะห์ • Hospital base case-control study • รายงานที่มี ADR ที่สนใจ เป็น case • รายงานที่มี ADR ที่สนใจ เป็น control • รายงานที่มียาที่สนใจเป็นยาที่สงสัย (suspected drug= s,i) เป็น exposure • รายงานที่ไม่มียาที่สนใจ หรือเป็นยาที่ใช้ร่วม (other drug=o )เป็น non- exposure

  8. วิธีการวิเคราะห์ • ความสัมพันธ์ระหว่างยา และADR • Proportional Reporting Odds Ratios (POR) • 95% confidence interval • ตัวแปรที่ใช้ในการคำนวณ A - จำนวนรายงานที่ได้รับยาที่สนใจ(S)และเกิด ADR B - จำนวนรายงานที่ได้รับยาที่สนใจ(S)แต่ไม่เกิด ADR C- จำนวนรายงานที่ไม่ได้รับยาที่สนใจ(O)แต่เกิด ADR D - จำนวนรายงานที่ไม่ได้รับยาที่สนใจ(O)และไม่เกิด ADR

  9. a b c d ADR จำนวนรายงานที่มีcolchicine (S,i) แต่ไม่เกิด SJS จำนวนรายงานที่มีcolchicine (S,i)และเกิด SJS + - + Drug - จำนวนรายงานที่ไม่มีหรือมีcolchicine (O) และไม่เกิด SJS จำนวนรายงานที่ ไม่มีหรือมีcolchicine (O) แต่ เกิด SJS Odd = ad/bc

  10. DrugParacetamolColchicineCalcitoninDiclofenacEfavirenz ADRSJSEMTENNauseaVomitting

  11. เงื่อนไขการแสดงข้อมูลเงื่อนไขการแสดงข้อมูล • POR > or= 1 • Cell A = หรือ > 3 • 95% CI : Lower limit > 1

  12. Drug & expected ADR

  13. Drug & unexpected ADR

  14. การสืบค้นเฉพาะกรณี

  15. ตัวอย่างผลการทดสอบ

  16. การสืบค้นเฉพาะกรณี

  17. ตัวอย่างผลการทดสอบ

  18. ข้อจำกัดการวิเคราะห์ • ไม่สามารถตรวจจับ drug interaction • ขึ้นกับคุณภาพของฐานข้อมูล • ปริมาณรายงาน : underreport • คุณภาพรายงาน : หลากหลาย • ประเภทของADR : • known or expected ADR • unknown or unexpected ADR

  19. สรุป • เครื่องมือที่ได้เป็นการวิธีการครวจจับสัญญาณเชิงปริมาณช่วยเสริมการตรวจจับสัญญาณเชิงคุณภาพ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น • ตรวจจับ unexpected ADR เร็วขึ้น • ทราบแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของความสัมพันธ์ของคู่ยาและADR

  20. ข้อเสนอแนะ • พัฒนาระบบการรายงานและฐานข้อมูลให้ดีมีคุณภาพ • กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวทางการการดำเนินงานในการยืนยันสัญาณ

  21. กิตติกรรมประกาศ • รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา • นพ.วิษณุ ธรรมลิขิตกุล ศิริราชพยาบาล • นพ.ประวิทย์ อัครเสรีนนท์ ศิริราชพยาบาล • ภญ.ดร.จิราพร ลิ้มปานานนท์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย • ภก.ดร.วิทยา กุลสมบูรณ์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • นพ.ธนะรักษ์ ผลิพัฒน์ สำนักระบาดวิทยา • พญ.ศิวพร ขุมทอง สำนักระบาดวิทยา • น.ส.สุลัดดา พงษ์อุทธา สำนักระบาดวิทยา • ภก. ชาญชัย เอื้อชัยกุล ผู้อำนวยการกองแผนงาน และวิชาการ • เจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

  22. Q & A

  23. THE END

More Related