1 / 50

การเลือกใช้คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3. การเลือกใช้คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ เหมาะสมกับงาน. งานด้านเอกสาร รายงาน หรือสำนักงาน งานด้านกราฟิก ออกแบบสิ่งพิมพ์ และสื่อมัลติมีเดีย เล่นเกมคอมพิวเตอร์ และบันเทิงเป็นหลัก. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ เหมาะสมกับงาน.

kane-hebert
Download Presentation

การเลือกใช้คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเลือกใช้คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน

  2. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงานการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน • งานด้านเอกสาร รายงาน หรือสำนักงาน • งานด้านกราฟิก ออกแบบสิ่งพิมพ์ และสื่อมัลติมีเดีย • เล่นเกมคอมพิวเตอร์ และบันเทิงเป็นหลัก

  3. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงานการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน • งานด้านเอกสาร รายงาน หรือสำนักงาน

  4. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงานการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน • งานด้านกราฟิก ออกแบบสิ่งพิมพ์ และ สื่อมัลติมีเดีย

  5. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงานการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน • เล่นเกมคอมพิวเตอร์ และบันเทิงเป็นหลัก

  6. งานด้านเอกสาร รายงาน หรืองานสำนักงาน งานทางด้านการพิมพ์เอกสาร หรือรายงานพวกนี้ส่วนใหญ่โดยทั่วไปแล้วจะใช้โปรแกรม ในชุด Microsoft Office ซึ่งเป็นโปรแกรมสำเร็จรูปมาแล้ว เช่น Microsoft Word , Excel, Powerpointสำหรับพิมพ์งาน ทำแผนผังตาราง หรือทำงานนำเสนอ เป็นต้น

  7. งานด้านกราฟิก ออกแบบสิ่งพิมพ์ และสื่อมัลติมีเดีย งานด้านการออกแบบพวกนี้เครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องมีคุณสมบัติสูง ใช้โปรแกรมพวก Photoshop ,IlIustratorสำหรับงานพวกตัดต่อภาพทำพวกกราฟฟิกต่างๆ และสำหรับงานตัดต่อวิดีโอจะเป็นพวกโปรแกรม Sony Vegas Pro ,Movie Maker เป็นต้น

  8. เล่นเกมคอมพิวเตอร์ และบันเทิงเป็นหลัก คอมพิวเตอร์สำหรับด้านบันเทิง เช่น ดูYoutube ดูภาพยนตร์ ฟังเพลงเล่น Facebook และเล่นเกมเช่น DotAการใช้งานด้านนี้ต้องใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งสเปคสูงตามโปรแกรมหรือเกมนั้นๆ ยิ่งกราฟิกสวยๆยิ่งต้องใช้สเปคสูง

  9. การรับประกันอุปกรณ์ที่ยาวนานที่สุดและมีระยะเวลารับประกันแตกต่างจากชนิดอื่นการรับประกันอุปกรณ์ที่ยาวนานที่สุดและมีระยะเวลารับประกันแตกต่างจากชนิดอื่น

  10. การรับประกันอุปกรณ์ที่ยาวนานที่สุดและมีระยะเวลารับประกันแตกต่างจากชนิดอื่นการรับประกันอุปกรณ์ที่ยาวนานที่สุดและมีระยะเวลารับประกันแตกต่างจากชนิดอื่น ตอบRAM รับประกันตลอดอายุการใช้งาน(Livetime Warranty) มีความแตกต่างที่อุปกรณ์อื่นๆจะรับประกันเป็นปีแตกต่างกันแล้วแต่ชนิดอุปกรณ์ หมายเหตุ ในกรณีที่ RAM เกรดทั่วไป จะรับประกันเพียงแค่ 1 ปี

  11. เสริมระยะเวลารับประกันของอุปกรณ์เสริมระยะเวลารับประกันของอุปกรณ์

  12. การรับประกันสินค้า • ระยะเวลาในการรับประกัน ระยะเวลาในการรับประกันสินค้าขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์และชิ้นส่วนอุปกรณ์แต่ละชิ้น ซึ่งตามปกติแล้วคอมพิวเตอร์แบบประกอบเองมักมีการรับประกัน 1 ปี แต่ถ้าเป็นเครื่องยี่ห้อ (Brand Name) ซึ่งมีราคาแพงกว่าอาจมีการรับประกันถึง 3 ปี

  13. การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 1.ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) ผู้ผลิตที่มีชื่อเสียง คือ Seagate และ Quantum ซึ่งนำเข้าโดยบริษัทอินแกรมและดีคอมพิวเตอร์ มีการรับประกันนานถึง 3 ปี ถ้าเสียหายใน 1 เดือนแรก บริษัทจะเปลี่ยนฮาร์ดดิสก์ใหม่ให้ทันที

  14. การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 2.เมนบอร์ด (Main board)  ส่วนใหญ่จะมีการรับประกันขั้นต่ำ 1 ปี แต่ถ้าเป็นเมนบอร์ดที่มีชื่อเสียงจะมีการรับประกันถึง 3 ปี โดยทั่วไปถ้าเมนบอร์ดเสียภายในเวลา 1 เดือนร้านจะเปลี่ยนให้ใหม่ (Clamed) ถ้าเสียหายหลังจากนั้นทางร้านจะส่งซ่อมโรงงาน และให้เรามารับกลับเมื่อซ่อมเสร็จแล้ว

  15. การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 3.ซีพียู (CPU) ซึ่งซีพียูที่มีชื่อเสียง คือ ค่ายของ Intel นำเข้าโดยบริษัทอินแกรมและดีคอมพิวเตอร์ ส่วนซีพียูของค่าย AMD นำเข้าโดยบริษัท Power Highland และค่ายของ VIA ซึ่งซีพียูของทั้งสามบริษัทนี้มีการรับประกันสินค้า 3 ปี โดยทั่วไปถ้าซีพียูเสียหายภายใน 1 เดือน ทางร้านจะเปลี่ยนให้ใหม่ แต่ถ้าเสียหายหลังจากนั้นทางร้านจะส่งคืนโรงงานรอ การเคลมประกันต่อไป

  16. การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 4.หน่วยความจำหรือแรม (RAM)  จะแบ่งออกเป็น 2 เกรด คือ เกรดดีจะมีการรับประกันตลอดอายุการใช้งาน (Livetime Warranty)ประเภทนี้จะมีราคาแพงกว่าแรมชนิดอื่น ซึ่งมักจะเป็นแรมเกรดทั่วไปที่รับประกันเพียง 1 ปี

  17. การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 5.ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk)  ส่วนใหญ่มีการรับประกัน 1 ปี บางยี่ห้อซึ่งมีราคาถูกมากจะรับประกันเพียง 1 เดือนเท่านั้น

  18. การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 6.ซีดีรอม (CD-ROM)  รับประกัน 1 ปี แต่ถ้าหากเสียหาย หรือมีปัญหาก็ให้รีบส่งทางร้านภายใน 15 วัน ทางร้านจะเปลี่ยนสินค้าใหม่ ถ้าหลังจากนั้นคงต้องส่งเคลมประกันที่โรงงานและมารับกลับเองเมื่อซ่อมเสร็จ

  19. การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 7.การ์ดจอ และการ์ดเสียง (Video & Sound Card)  รับประกัน 1 ปี ส่วนใหญ่อุปกรณ์ประเภทนี้มักไม่เสียง่าย แต่จะมีปัญหาในเรื่องของการเสียบการ์ดไม่แน่น ทำให้ไม่มีภาพปรากฏบนหน้าจอเท่านั้น

  20. การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์การประกันชิ้นส่วนอุปกรณ์ 8.แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply)  รับประกัน 1 ปี ซึ่งแหล่งจ่ายไฟบางครั้งมีผลต่อการทำงานของเครื่องเช่นกัน สินค้าประเภทอื่นมักมีใบรับประกันสินค้า แต่สินค้าประเภทคอมพิวเตอร์มักใช้สติ๊กเกอร์รับประกัน (Warranty Sticker) เพื่อยืนยันว่าสินค้านี้มาจากร้านของตนจริง โดยมีการกำหนดวันที่จำหน่าย และระยะเวลาในการรับประกันไว้ 

  21. สติ๊กเกอร์รับประกัน 1.สติ๊กเกอร์ที่กำหนดเวลาเริ่มต้นการรับประกัน ซึ่งเป็นแบบที่นิยมกันมากกว่าเพราะง่ายต่อการบันทึกวันเริ่มต้นรับประกันไป เนื่องจากอุปกรณ์แต่ละชิ้นมีระยะเวลาในการรับประกันไม่เท่ากัน เช่น ซื้อสินค้าไปเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2002 เป็นต้น

  22. สติ๊กเกอร์รับประกัน 2.สติ๊กเกอร์กำหนดเวลาสิ้นสุดการรับประกัน จะทราบเวลาสิ้นสุดการรับประกันสินค้าได้ อย่างชัดเจนจากการเขียนลงบนสติ๊กเกอร์นั้น วันสิ้นสุดการรับประกันในสินค้ามักมีตัวอักษรภาษาอังกฤษเขียนไว้ว่า EXPIRE อยู่ด้วยเสมอสติ๊กเกอร์แบบนี้ที่บริเวณด้านล่างมักจะมีคำว่า  “Warranty Void If Remove”

  23. การเลือกอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การเลือกอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ • การเลือกหน่วยประมวลผลกลาง • การเลือกเมนบอร์ด • การเลือกหน่วยความจำแรม • การเลือกฮาร์ดดิสก์ • การเลือกกราฟิกการ์ด • การเลือกจอภาพ

  24. การเลือกหน่วยประมวลผลกลางการเลือกหน่วยประมวลผลกลาง 1.ความเร็วของ ซีพียู มีหน่วยเป็น “เฮิรตซ์ (Hz)”  ก็คือการที่ซีพียูทำงาน 1 ครั้งต่อ 1 วินาทีนั้นเอง  แต่ในปัจจุบันซีพียูนั้นมีความเร็วมากอยู่ในระดับ “กิกะเฮิรตซ์ (GHz)” แล้ว  เช่น 1 กิกะเฮิรตซ์  คือซีพียูทำงานได้ถึง 1 พันล้านครั้งต่อวินาที  ยิ่งมีค่าสัญญาณนาฬิกามากเท่าไหร่ก็สามารถทำงานได้รวดเร็วเท่านั้น เช่น AMD Phenom 9650 2.3GHz 

  25. การเลือกหน่วยประมวลผลกลางการเลือกหน่วยประมวลผลกลาง 2.หน่วยความจำแคช(Cache) หน่วยความจำแคชก็เป็นหน่วยความจำหนึ่งที่ประกอบการตัดสินใจในการเลือกซื้อ  เพราะแคชมีหน้าที่ในการจัดเก็บคำสั่งและข้อมูลที่ได้ใช้บ่อยๆ เพื่อส่งไปยังซีพียู  ซึ่งแคชเองทำงานร่วมกับแรมเพื่อเป็นการเชื่อมต่อข้อมูลระหว่าง 2 อุปกรณ์  ให้เชื่อมต่อกันเพราะฉะนั้นแล้วยิ่งมีแคชมากเท่าไหร่ก็ยิ่งมีความเร็วเท่านั้นด้วย 

  26. การเลือกหน่วยประมวลผลกลางการเลือกหน่วยประมวลผลกลาง 3.บัส(BUS) ถือได้ว่ามีความสำคัญเหมือนกัน เพราะบัสคือ ทางนำไฟฟ้าที่เป็นทางเดินของข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งบัสในคอมพิวเตอร์คือบัสข้อมูล (Data bus) ซึ่งมีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hz)  จะมีค่า FSB อย่างเช่น FSB 1066 เป็นต้น

  27. การเลือกหน่วยประมวลผลกลางการเลือกหน่วยประมวลผลกลาง 4.ซีพียู จากค่ายต่างๆ   สำหรับซีพียูนี้ก็มี 2 ค่าย ใหญ่ที่ผลิตออกมาให้เราได้ใช้กันคือ Intel และ AMD

  28. การเลือกเมนบอร์ด เมนบอร์ด(Main board) ทำหน้าที่เป็นส่วนที่เชื่อมต่อการทำงานของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ทั้งหมดที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง ดังนั้นการเลือกเมนบอร์ด นั้น ต้องคำนึงถึงอุปกรณ์ที่จะนำมาใช้งานเป็นหลัก โดยอุปกรณ์สำคัญที่ทำงานร่วมกับเมนบอร์ดมีดังนี้

  29. อุปกรณ์สำคัญที่ทำงานร่วมกับเมนบอร์ดอุปกรณ์สำคัญที่ทำงานร่วมกับเมนบอร์ด • โปรเซสเซอร์ (Processor) หน่วยประมวลผลกลางหรือ CPU • หน่วยความจำ (Memory) Random Access Memory หรือ Ram แบ่งออกเป็นหน่วยความจำแบบ SDRAM, DDR SDRAM, RDRAM, DDR2 และ DDR3 • ชิปเซต (Chipset) ทำหน้าที่สนับสนุนและบริหารจัดการภายในระบบการทำงานของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ • AGP และ PCI Express ตัวประมวลผลภาพผ่านทางจอภาพที่รองรับการทำงานร่วมกับชิปเซต หน่วยความจำ และ DriectX

  30. อุปกรณ์สำคัญที่ทำงานร่วมกับเมนบอร์ดอุปกรณ์สำคัญที่ทำงานร่วมกับเมนบอร์ด • ระบบเสียง (Sound Onboard) • ระบบเครือข่าย (LAN) • คอนเน็กเตอร์และพอร์ต (Connector & Port) เป็นอุปกรณ์มาตรฐานที่เมนบอร์ดทุกตัวจะต้องมีไว้รองรับการทำงาน

  31. การเลือกหน่วยความจำแรมการเลือกหน่วยความจำแรม แรมในปัจจุบันที่มีจำหน่ายและใช้กันโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ DDR, DDR2 และ DDR3 การเลือกหน่วยความจำแรมมีหลักในการพิจารณาดังนี้ • Main Board (เมนบอร์ด) ที่ใช้อยู่ เพราะเมนบอร์ดแต่ละรุ่นจะลองรับการทำงานของแรมคนละแบบกัน • เลือกที่ความจุและขนาดที่ต้องการ การเลือกความจุและขนาดของแรมดูจากปริมาณการทำงานและโปรแกรมต่างๆ • เลือกแบบSingle ความจุสูงแถวเดียวหรือ Dualความจุเท่ากัน 2 แถว

  32. การเลือกฮาร์ดดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลปริมาณมากๆ ฮาร์ดดิสก์แบ่งออกได้หลายชนิดตามการเชื่อมต่อ (อินเทอร์เฟซ) โดยฮาร์ดดิสก์ที่นิยมกันทั่วไปได้แก่ • แบบ IDT (Integrate Drive Electronics) เป็นอินเทอร์เฟซรุ่นเก่าที่มีการเชื่อมต่อโดยใช้สายแพขนาด 40 เส้น โดยสายแพ 1 เส้นสามารถที่จะต่อฮาร์ดดิสก์ได้ 2 ตัว มีความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลอยู่ที่ 8.3 เมกะไบต์ต่อวินาที • แบบ Serial ATA เป็นอินเทอร์เฟซที่กำลังนิยมมากในปัจจุบัน มีอัตราความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลขั้นแรกสูงสุดถึง 150 เมกะไบต์ต่อวินาที

  33. การเลือกฮาร์ดดิสก์ การเลือกฮาร์ดดิสก์มีหลักในการพิจารณาดังนี้ • ขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์ ควรเลือกซื้อให้เหมาะสมกับการใช้งานและไม่ควรเผื่อพื้นที่ไว้ใช้งานมากจนเกินจำเป็น • ความเร็วรอบ หรือการหมุนของจาน ยิ่งหมุนเร็วมากก็จะทำให้ประสิทธิภาพในการเข้าถึงหรือค้นหาข้อมูลมีความรวดเร็วขึ้นตามไปด้วย • หน่วยความจำบัฟเฟอร์ หรือแคช เป็นที่พักข้อมูลก่อนที่จะส่งไปยังคอนโทรลเลอร์บนการ์ด หรือเมนบอร์ด บัฟเฟอร์ หรือ แคชที่เพิ่มขึ้นมีส่วนช่วยในการทำงานของฮาร์ดดิสก์ให้เร็วขึ้น

  34. การเลือกกราฟิกการ์ด 1.ประเภท ในปัจจุบันนั้นมีประเภทของการ์ดแสดงผลที่นิยม  อยู่ 2 ประเภทคือ -  AGP  สำหรับ AGP นั้นมีความเร็วที่  266 MB /s นั้นคือความเร็วที่ตั้งแต่เริ่มแรก  แล้วได้มีการพัฒนาแต่มา คือ 2x – 8x ซึ่งในปัจจุบันได้มีการลดความสำคัญลงไปเพราะมีสล็อต  ที่เร็วกว่ามาแทน  แต่ยังมีผู้ที่ใช้เมนบอร์ดรุ่นเก่าอยู่ยังต้องใช้ แบบ AGP อยู่ - PCI Express จะมีความเร็วกว่า AGP ซึ่งเป็นมาตรฐานแบบใหม่ที่เข้าแทนการเชื่อมต่อ แบบ AGP และแบบ PCI ธรรมดา  โยความสามารถของ PCI Express  คือมีการควบคุมการรับส่งข้อมูลขึ้นมา  เรียกว่า “สวิตช์(Switch) สำหรับข้อดีที่ความเร็วเร็วกว่า  AGP นั้น  ซึ่งสามารถรับส่งข้อมูลได้เร็วถึง 250 MB/s เลยทีเดียว  และสามารถปรับขนาดของความกว้างของบัสเองได้มากกว่าทำให้ความเร็วไปได้ถึง 4 GB/s มากว่า AGP ถึง 2 เท่า

  35. การเลือกกราฟิกการ์ด 2.ชิปการฟิก nVidia : ถือได้ว่าเป็นผู้ผลิตที่ได้ผลิตมาตั้งแต่ต้น ผลิตมาเป็นเวลานาน  ที่โด่งดังในตอนนั้นก็คือ TNT 2 ที่เป็นกราฟการ์ด 3 มิติ ที่มีประสิทธิภาพในตอนนั้นและมีการพัฒนาต่อมาเรื่อยๆจน  ในปัจจุบันมีชื่อว่า GeForce ATi : ได้พัฒนามาเรื่อยๆ  ซึ่งเป็นผู้ผลิตกราฟิกตระกูล Radeonที่มีประสิทธิภาพสูงได้รับการยอมรับจากคนเล่นเกมส์ต่างๆ  ว่ามีประสิทธิภาพเยื่ยมเลยทีเดียว

  36. การเลือกกราฟิกการ์ด 3.หน่วยความจำ ถือได้ว่าเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่ต้องคำนึงถึง  เพราะเป็นส่วนที่ช่วยให้ความเร็วในการแสดงผลรวดเร็วมากขึ้น  ซึ่งหน่วยความจำของการ์ดแสดงผล  เหมือนกับเครื่องคอมพิวเตอร์จำต้องมีหน่วยความจำแรม  ส่วนของการ์ดแสดงผลนั้นก็มีหน่วยความจำที่ทำงานเช่นเดียวกัน  นั้นมีหลายประเภทในปัจจุบันเช่น GDDR 2 GDDR3 เป็นต้น

  37. การเลือกจอภาพ 1.เลือกขนาดที่เหมาะสมกับการใช้งาน 2.ความละเอียดของจอภาพ 3.Dot Pitch 4.จำนวนเม็ดสี(Bit Depth) 5.ค่า Viewing Angle 6.Response time 7.ช่องต่อแบบอะนาล็อค(Analog)

  38. การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การดูแลรักษาซีพียู 1.ระมัดระวังอย่าสร้างความเสียหายให้เกิดขึ้นกับบอดี้ 2. ใช้พัดลมหรือที่เป่าเป่าลมตามซอกที่มีฝุ่นจับ

  39. การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การดูแลรักษาเมนบอร์ด ทำการปัดฝุ่นให้สะอาดบ้าง ระวังอย่าให้เมนบอร์ดโดนน้ำหรือตกหล่น

  40. การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ • อย่าให้วัตถุหรือน้ำไปกระทบหน้าจอ • เปิดไฟที่จอก่อนเปิดสวิทซ์ไฟที่ CPU • ปรับความสว่างของจอภาพให้เหมาะสม การดูแลรักษาหน้าจอ

  41. การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การดูแลรักษาการ์ดแสดงผล นำยางลบมาถูๆ ตรงบริเวณหน้าสัมผัสที่เป็นสีทอง

  42. การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 1. ควรวางเมาส์ไว้ที่แผ่นรองเมาส์ทุกครั้ง 2. อย่ากระแทกเมาส์กับพื้น 3. ทำความสะอาดเมาส์บริเวณลูกกลิ้ง การดูแลรักษาเมาส์

  43. การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 1. ปัดฝุ่นและทำความสะอาดเป็นประจำ 2. อย่าทำน้ำหกถูกแผงแป้นพิมพ์ 3. คลุมผ้าทุกครั้งหลังการใช้งาน การดูแลรักษาแป้นพิมพ์

  44. การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การดูแลรักษาฮาร์ดดิสก์ 1.ติดตั้ งเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ด้านหลังของตัวเครื่องห่างจากฝาผนังไม่น้อยกว่า 3 นิ้ว 2.ควรเลือกใช้โต๊ะทำงานที่แข็งแรงป้องกันการโยกไปมา 3.ควรมีการตรวจสอบสถานภาพของ Harddiskด้วยโปรแกรม Utility

  45. การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 1. ไม่ควรนำแผ่นซีดี ที่เสียแล้ว หรือมีรอยขีดข่วนมากๆ มาอ่าน 2 .ไม่ควรใช้น้ำยาล้างหัวอ่านผิดประเภท 3. ใช้พู่กันเล็กๆ ช่วยในการปัดฝุ่นออกเสียก่อน จากนั้นจึงใช้น้ำยาทำความสะอาดเช็คเครื่องคอมฯ การดูแลรักษาซีดีรอมไดร์ฟ

  46. การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ใช้แปรง หรือที่เป่าฝุ่น เป่าฝุ่นออกเป็นประจำ การดูแลรักษาพัดลมระบายความร้อน

  47. นายธนภัทร แก้วประเสริฐ เลขที่ 2นายธัญจิรา สิงห์เรือง เลขที่ 11นางสาวจิราภา ธีรศรัณย์ เลขที่ 15นางสาววิชญาพร พลอยจิระชัย เลขที่ 18นางสาวอุษมา อุสายพันธ์ เลขที่ 21

More Related