1 / 33

กฎหมายทะเล The Law of The Sea

กฎหมายทะเล The Law of The Sea. น.อ.ไพรัช รัตนอุดม. รอง ผอ.สธน.ทร. ที่มาของกฎหมายทะเล. จารีตประเพณี กฎหมาย ทั่ว ไป สนธิสัญญา. วิวัฒนาการของกฎหมายทะเล. 1. กฎหมายทะเลก่อน ค.ศ.1958 - กฎหมายทะเลยุคโรมัน - กฎหมายทะเลยุคแสวงหาดินแดนใหม่

kamil
Download Presentation

กฎหมายทะเล The Law of The Sea

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายทะเลThe Law of The Sea

  2. น.อ.ไพรัช รัตนอุดม รอง ผอ.สธน.ทร.

  3. ที่มาของกฎหมายทะเล • จารีตประเพณี • กฎหมายทั่วไป • สนธิสัญญา

  4. วิวัฒนาการของกฎหมายทะเลวิวัฒนาการของกฎหมายทะเล • 1. กฎหมายทะเลก่อน ค.ศ.1958 - กฎหมายทะเลยุคโรมัน - กฎหมายทะเลยุคแสวงหาดินแดนใหม่ - การกำหนดทะเลอาณาเขต 2. กฎหมายทะเลตามอนุสัญญาเจนีวา ค.ศ.1958 - อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายทะเล 4 ฉบับ 3. กฎหมายทะเลตามอนุสัญญาสหประชาชาติ ค.ศ.1982

  5. ทฤษฏีกฎหมายในการกำหนดเขตทางทะเลทฤษฏีกฎหมายในการกำหนดเขตทางทะเล • 1. ทฤษฏีทะเลปิด (Mare Clossum) • 2. ทฤษฏีทะเลเปิด (Mare Reberum)

  6. อนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายทะเล1.อนุสัญญาเจนีวา ค.ศ.1958 4 ฉบับ - อนุสัญญาว่าด้วยทะเลหลวง - อนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง - อนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป - อนุสัญญาว่าการอนุรักษ์ทรัพยากร 2.อนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 (UNCLOS 1982)

  7. อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982(UNCLOS III) • แบ่งเป็น 17 ภาค 320 ข้อ กับอีก 9 ผนวก • ภาค 1 บทนำ ข้อ 1 • ภาค 2 ทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ข้อ 2-33 • ภาค 3 ช่องแคบที่ใช้เดินเรือระหว่างประเทศ ข้อ 34-45 • ภาค 4 รัฐหมู่เกาะ ข้อ46-54 • ภาค 5 เขตเศรษฐกิจจำเพาะ ข้อ 55-76 • ภาค 6 ไหล่ทวีป ข้อ 77-85

  8. อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982(UNCLOS III) (ต่อ) • ภาค 7 ทะเลหลวง ข้อ 86-120 • ภาค 8 ระบอบของเกาะ ข้อ 121 • ภาค 9 ทะเลปิดหรือกึ่งปิด ข้อ 122-123 • ภาค 10 สิทธิของรัฐไร้ฝั่ง ข้อ124-132 • ภาค 11 บริเวณพื้นที่ ข้อ 133-191 • ภาค 12 การคุ้มครองและรักษาสิ่งแวดล้อม ข้อ 192-237

  9. อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982(UNCLOS III) • ภาค 13 การวิจัยวิทยาศาสตร์ ข้อ 238-265 • ภาค 14 การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางทะเล ข้อ 266-278 • ภาค 15 การระงับข้อพิพาท ข้อ 279-299 • ภาค 16 บทบัญญัติทั่วไป ข้อ 300- 304 • ภาค 17 บทบัญญัติสุดท้าย ข้อ 305-320

  10. ภาคผนวก • ผนวก 1 ชนิดพันธ์ที่ย้ายถิ่นอยู่เสมอ • ผนวก 2 กรรมาธิการกำหนดขอบเขตไหล่ทวีป • ผนวก 3 เงื่อนไขพื้นฐานในการตรวจหา สำรวจ และแสวงประโยชน์ • ผนวก 4 ธรรมนูญของวิสาหกิจ • ผนวก 5 การประนอม • ผนวก 6 ธรรมนูญศาลกฎหมายทะเลระหว่างประเทศ • ผนวก 7 อนุญาโตตุลาการ • ผนวก 8 อนุญาโตตุลาการพิเศษ • ผนวก 9 การเข้าร่วมขององค์การระหว่างประเทศ

  11. เส้นฐานการวัดเขตแดนทางทะเลวัดจากเส้นฐานแบ่งได้เป็น 2 ชนิด - เส้นฐานปกติ - เส้นฐานตรง

  12. เส้นฐานปกติ แนวน้ำลดตลอดชายฝั่ง เส้นฐานตรง แนวเส้นตรง ซึ่งลากอย่างเหมาะสมเชื่อมจุดนอกสุดของบริเวณ - ชายฝั่งเว้าแหว่ง - ชายฝั่งที่มีเกาะแก่งมาก - เส้นปิดปากอ่าว - เส้นปิดปากแม่น้ำ - เส้นปิดปากอ่าวประวัติศาสตร์

  13. เขตแดนทางทะเลในปัจจุบันมี 6 เขต - น่านน้ำภายใน (Internal water) - ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) - เขตต่อเนื่อง (Contigous Zone) - เขตเศรษฐกิจจำเพาะ (EEZ) - ทะเลหลวง (High Sea) - ไหล่ทวีป (Continental Shelf)

  14. น่านน้ำภายใน สถานะ : - น่านน้ำบริเวณซึ่งอยู่ภายในเส้นฐานเข้า มาในแผ่นดิน สิทธิของรัฐชายฝั่ง : - รัฐชายฝั่งมีอำนาจอธิปไตยโดย สมบูรณ์ สิทธิของรัฐอื่น : - เคารพสิทธิของรัฐชายฝั่ง

  15. ทะเลอาณาเขต สถานะ : น่านน้ำนับตั้งแต่เส้นฐานออกไปจนถึง ระยะไม่เกิน 12 ไมล์ทะเล นับจากเส้นฐาน สิทธิของรัฐชายฝั่ง : มีอำนาจอธิปไตยในบริเวณนี้ สิทธิของรัฐอื่น : อยู่ในบังคับของรัฐชายฝั่ง แต่มี สิทธิใช้สิทธิเดินเรือผ่านโดยสุจริต

  16. การผ่านโดยสุจริต ( ข้อ 18) ความหมาย การเดินเรือผ่านทะเลอาณาเขตโดยต่อเนื่องรวดเร็ว เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะผ่านทะเลอาณาเขตโดยไม่เข้าไปใน น่านน้ำภายในหรือแวะจอด ณ ที่ทอดหรืออำนวยความสะดวกของ ท่าเรือ หรือเดินทางเข้าสู่หรือออกจากน่านน้ำภายใน และไม่เป็นการ เสื่อมเสียต่อเสรีภาพความสงบเรียบร้อยหรือความมั่นคงของรัฐ ชายฝั่ง ลักษณะการเดินเรือที่ถือว่าเป็นการเสื่อมเสียต่อสันติภาพ ความสงบเรียบร้อยหรือความมั่นคงของรัฐชายฝั่ง (ข้อ 19)

  17. เขตต่อเนื่องสถานะ : บริเวณน่านน้ำที่อยู่ประชิดกับทะเลอาณาเขตออกไปถึงระยะไม่เกิน 24 ไมล์ทะเลนับจากเส้นฐานสิทธิของรัฐชายฝั่ง : มีสิทธิออกมาตรการเพื่อบังคับใช้กฎหมาย 4 เรื่อง- รัษฎากร- คนเข้าเมือง - ศุลกากร - สุขอนามัยสิทธิของรัฐอื่น : เดินเรือได้โดยเสรีแต่ต้องเคารพสิทธิของ รัฐชายฝั่ง

  18. เขตเศรษฐกิจจำเพาะสถานะ: บริเวณน่านน้ำที่ประชิดกับทะเลอาณาเขตออกไป จนถึงระยะไม่เกิน 200 ไมล์ทะเลนับจากเส้นฐานสิทธิชายฝั่ง: มีสิทธิอธิปไตยแต่เพียงผู้เดียวในการสำรวจ, แสวงหาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและ ไม่มีชีวิตในท้องน้ำ พื้นดินท้องทะเล และดินใต้พื้นท้อง ทะเล ในบริเวณดังกล่าว รวมทั้งให้มีเขตอำนาจในเกาะ เทียมและสิ่ง ติดตั้งในทะเลเพื่อการนี้ด้วยสิทธิของรัฐอื่น : มีเสรีภาพที่จะดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่ไม่ ขัดกับกฎหมายระหว่างทะเลได้ทุกอย่างเว้นแต่ที่เกี่ยวกับ ทรัพยากรธรรมชาติ

  19. ไหล่ทวีป “พื้นดินท้องทะเลและดินใต้ผิวดินของบริเวณใต้ทะเล ซึ่งขยายเลยทะเลอาณาเขตของรัฐออกไปตามธรรมชาติของดินแดนทางบกจนถึงริมนอกของขอบทวีป กำหนดขอบเขตไหล่ทวีปได้ เป็น 2 กรณีคือ” 1. ถ้าไม่มีไหล่ทวีปตามธรรมชาติ หรือมีแต่ไม่ถึง 200 ไมล์ทะเล ให้มีเขตไหล่ทวีปได้ 200 ไมล์ทะเลนับจากเส้นฐาน 2. ถ้าไหล่ทวีปยาวเกิน 200 ไมล์ทะเล ให้มีเขตไหล่ทวีปยาวสุดเขตไหล่ทวีปแต่ต้องไม่เกิน 350 ไมล์ทะเลนักจากเส้นฐาน

  20. สิทธิของรัฐในเขตไหล่ทวีปสิทธิของรัฐในเขตไหล่ทวีป รัฐชายฝั่ง มีสิทธิอธิปไตยในทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิตและมีชีวิตที่ไม่เคลื่อนที่ในบริเวณดังกล่าว - สิทธิอธิปไตยนี้ไม่ต้องประกาศ ไม่เกี่ยวกับการครอบครอง - สิทธิในการสร้างเกาะเทียม และสิ่งติดตั้งในทะเล - สิทธิอธิปไตยของรัฐชายฝั่งนี้ไม่ร่วมถึงท้องน้ำ และห้วงอากาศ รัฐอื่น - เดินเรือได้โดยเสรี - มีสิทธิวางสายเคเบิล และท่อใต้ทะเล

  21. การกำหนดเขตแดนของรัฐที่อยู่ตรงข้ามหรือประชิดกันการกำหนดเขตแดนของรัฐที่อยู่ตรงข้ามหรือประชิดกัน 1. ทะเลอาณาเขต – ไม่เกินเส้นมัธยะ 2. เขต EEZ – ตกลงกันอย่างเที่ยงธรรม 3. เขตไหล่ทวีป – ตกลงกันอย่างเที่ยงธรรม

  22. การไล่ตามติดพันHOT PURSUIT 1. เรือรบหรือเรือของรัฐเท่านั้นที่มีสิทธิ 2. จะใช้สิทธิได้ต่อเมื่อ 2.1 เรือต่างชาติกระทำผิดหรือมีเหตุเชื่อว่ากระทำผิด 2.2 ในทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง เขต EEZ 3. ต้องให้สัญญาณหยุดที่สามารถเห็นหรือได้ยินได้ 4. ต้องไล่ติดตามโดยไม่ขาดตอน 5. สิทธิระงับเมื่อการไล่ติดตามขาดตอนหรือเรือนั้นเข้าสู่ทะเลอาณาเขตของรัฐอื่น

  23. การประกาศเขตแดนทางทะเลของประเทศไทยการประกาศเขตแดนทางทะเลของประเทศไทย 1. ประกาศอ่าวไทยตอนในเป็นอ่าวประวัติศาสตร์ 22 ก.ย.02 2. ประกาศทะเลอาณาเขตกว้าง 12 ไมล์ทะเล 6 ต.ค.09 3. ประกาศเส้นฐานตรง และน่านน้ำภายใน 3 แห่ง 11 มิ.ย.13 4. ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีป 18 พ.ค.16 5. ประกาศ EEZ 23 ก.พ.24 6. ประกาศเส้นฐานตรง และน่านน้ำภายในบริเวณที่ 4 17 ส.ค.35 7. ประกาศเขตต่อเนื่องมีความกว้าง 24 ไมล์ทะเล ส.ค.37

  24. ทะเลหลวง สถานะ : บริเวณทะเลที่นอกเหนือจาก น่านน้ำภายในทะเล, อาณาเขต, เขตต่อเนื่อง และเขตเศรษฐกิจจำเพาะ สิทธิของรัฐ : รัฐทุกรัฐมีสิทธิเท่าเทียมกันในทะเลหลวง

  25. โจรสลัด การกระทำอันเป็นโจรสลัด (ข้อ 100) ก.) 1. กระทำการโดยผิดกฎหมายใช้กำลัง/กักกัน/ปล้นสะดม) 2. โดยลูกเรือหรือผู้โดยสารของเรือหรืออากาศยานลำหนึ่ง 3. ต่อเรือหรืออากาศยานลำอื่นหรือต่อบุคคลหรือทรัพย์สินในเรือหรือ อากาศยานอีกลำหนึ่ง 4. ซึ่งกระทำในทะเลหลวงหรือที่ที่อยู่นอกเขตอำนาจรัฐใด 5. โดยมีวัตถุประสงค์โดยส่วนตัว ข.) เข้าร่วมโดยสมัครใจต่อเรือหรืออากาศยานที่เป็นโจรสลัด ค.) ยุยงหรืออำนวยความสะดวกในการกระทำผิดอันเป็นโจรสลัดบทบัญญัติเกี่ยวกับ โจรสลัดนำมาใช้ในเขต EEZ ด้วยตามข้อ 58 (2)

  26. สิทธิการเดินเรือตามกฎหมายทะเลสิทธิการเดินเรือตามกฎหมายทะเล - สิทธิการผ่านโดยสุจริต - ทะเลอาณาเขต,ช่องแคบ (Innocent Passage) - สิทธิการผ่าน - ช่องทะเลหมู่เกาะ, ช่องแคบ (Transit passage) ระหว่างประเทศ - เสรีภาพในการเดินเรือ - เขต EEZ, ทะเลหลวง

  27. อาณาเขตทางทะเล( Marinetime Zone ) ทะเลหลวง EEZ 200 ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง 12 24 น่านน้ำภายใน 1ไมล์ทะเล=2000 หลา / 1 ลิบดา ไหล่ทวีป

  28. เขตต่าง ๆ ทางทะเล

  29. เขตต่าง ๆ ทางทะเล

More Related