1 / 16

บทที่ 5 การวางแผนกำไร ( Profit Planning )

บทที่ 5 การวางแผนกำไร ( Profit Planning ). การวิเคราะห์เพื่อการวางแผนกำไร การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-Even Analysis) การวิเคราะห์ผลการใช้สินทรัพย์หรือเงินทุน (Leverage Analysis). การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-Even Analysis)

kamil
Download Presentation

บทที่ 5 การวางแผนกำไร ( Profit Planning )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 5 การวางแผนกำไร(Profit Planning) Jiraporn Chuayrodhmod

  2. การวิเคราะห์เพื่อการวางแผนกำไรการวิเคราะห์เพื่อการวางแผนกำไร • การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-Even Analysis) • การวิเคราะห์ผลการใช้สินทรัพย์หรือเงินทุน (Leverage Analysis) Jiraporn Chuayrodhmod

  3. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-Even Analysis) จุดคุ้มทุนคือจุดที่รายได้รวม (Total Revenues) เท่ากับต้นทุนรวม (Total Cost) นั่นคือกิจการสามารถหารายได้หลังจากหักค่าใช้จ่ายผันแปรแล้วเท่ากับต้นทุนคงที่ Jiraporn Chuayrodhmod

  4. ต้นทุนที่เกิดจากการดำเนินธุรกิจได้แก่ต้นทุนที่เกิดจากการดำเนินธุรกิจได้แก่ • ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) • ต้นทุนผันแปร(Variable Cost) Jiraporn Chuayrodhmod

  5. ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost)คือต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดจากการผลิตสินค้าและบริการซึ่งมีจำนวนคงที่เสมอไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามจำนวนหน่วยที่ผลิตและขายดังรูป บาท ต้นทุนคงที่ หน่วย Jiraporn Chuayrodhmod

  6. ต้นทุนผันแปร (Variable Cost)คือต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดจากการผลิตสินค้าและบริการซึ่งมีจำนวนเปลี่ยนแปลงตามจำนวนการผลิตและขายดังรูป บาท ต้นทุนผันแปร หน่วย Jiraporn Chuayrodhmod

  7. ข้อสมมติฐานในการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนข้อสมมติฐานในการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน • ราคาขายต่อหน่วยคงที่ไม่ว่าจะขายได้มากหรือน้อยราคาไม่เปลี่ยนแปลง • ต้นทุนคงที่จะไม่เปลี่ยนแปลงตลอดไป • ต้นทุนผันแปรต่อหน่วยคงที่ ไม่ว่าจะผลิตและขายสินค้าได้มากหรือน้อย • จำนวนหน่วยที่ผลิตเท่ากับจำนวนที่ขายในแต่ละงวดเวลา Jiraporn Chuayrodhmod

  8. การคำนวณจุดคุ้มทุนกำหนดให้การคำนวณจุดคุ้มทุนกำหนดให้ Q = ปริมาณขาย (หน่วย) P = ราคาต่อหน่วย FC = ต้นทุนคงที่ V = ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย TR = รายได้รวม TC = ต้นทุนรวม VC = ต้นทุนผันแปรรวม Q* = ปริมาณขายณจุดคุ้มทุน TR* = รายได้รวมณจุดคุ้มทุน Jiraporn Chuayrodhmod

  9. ณจุดคุ้มทุน TR = TC Q x P = FC + VC Q x P = FC + ( Q x V ) QP = FC + QV QP - QV = FC Q ( P – V ) = FC Q* = FC ( P – V ) Jiraporn Chuayrodhmod

  10. รายได้ณจุดคุ้มทุน= ปริมาณณจุดคุ้มทุน x ราคาขาย TR* = Q* x P Jiraporn Chuayrodhmod

  11. การคำนวณรายได้ ณจุดคุ้มทุนโดยใช้กำไรส่วนเกิน(Contribution Margin) กำไรส่วนเกินหมายถึงผลต่างระหว่างราคาขายกับต้นทุนผันแปรต่อหน่วย Jiraporn Chuayrodhmod

  12. กำไรส่วนเกิน = ราคาขาย - ต้นทุนผันแปร CM = P - V หรือ TR - VC อัตราส่วนกำไรส่วนเกิน (Contribution Margin Ratio - CM ratio) CM ratio = P - V หรือ TR - VC P TR Jiraporn Chuayrodhmod

  13. ดังนั้นรายได้ณจุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่ อัตราส่วนกำไรส่วนเกิน TR* = FC CM ratio ถ้าต้องการทราบปริมาณณจุดคุ้มทุนสามารถคำนวณได้ดังนี้ Q* = TR* P Jiraporn Chuayrodhmod

  14. การวิเคราะห์ผลการใช้สินทรัพย์หรือเงินทุน (Leverage Analysis) 1. ระดับการใช้สินทรัพย์ดำเนินงาน (Degree of Operating Leverage - DOL)ซึ่งจะบอกให้ทราบว่าเมื่อค่าขายเปลี่ยนแปลงไปหนึ่งเปอร์เซ็นต์กำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี (Earning Before Interest and Tax - EBIT) จะเปลี่ยนไปกี่เปอร์เซ็นต์ DOL = Q(P - V) Q(P – V) - FC Jiraporn Chuayrodhmod

  15. 2. ระดับการใช้เงินทุน (Degree of Financial Leverage - DFL) จะบอกให้ทราบว่าการดำเนินงานของธุรกิจณระดับกำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษีนั้นๆจะมีกำไรเหลือเป็นส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญหรือไม่มีความเสี่ยงต่อการขาดทุนหรือมีโอกาสหลุดพ้นการการขาดทุนมากน้อยเพียงใด DFL = Q(P - V) – FC Q(P – V) – FC – I โดยที่ I = ดอกเบี้ย Jiraporn Chuayrodhmod

  16. 3. ระดับการใช้สินทรัพย์ดำเนินงานและการใช้เงินทุน (Degree of Total Leverage - DTL) เป็นการวัดความเสี่ยงรวมของธุรกิจทั้งความเสี่ยงจากการดำเนินงานและความเสี่ยงทางการเงินว่าผลของการใช้สินทรัพย์และเงินทุนอยู่ในระดับที่น่าพอใจหรือไม่สามารถคำนวณได้ดังนี้ DTL = DOL x DFL Jiraporn Chuayrodhmod

More Related