1 / 28

ภัยร้ายที่แฝงมากับอินเทอร์เน็ตและเกมส์

การอบรม เรื่อง “ กลยุทธ์พ้นภัยออนไลน์สำหรับเยาวชน ” ดำเนินการโดย นักศึกษาปริญญาโทหลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา รุ่นที่ 2 วันเสาร์ ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2551 ณ อาคาร เบญจมจักร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ภัยร้ายที่แฝงมากับอินเทอร์เน็ตและเกมส์. ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข

Download Presentation

ภัยร้ายที่แฝงมากับอินเทอร์เน็ตและเกมส์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การอบรม เรื่อง “กลยุทธ์พ้นภัยออนไลน์สำหรับเยาวชน”ดำเนินการโดยนักศึกษาปริญญาโทหลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา รุ่นที่ 2วันเสาร์ ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2551ณ อาคาร เบญจมจักร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

  2. ภัยร้ายที่แฝงมากับอินเทอร์เน็ตและเกมส์ภัยร้ายที่แฝงมากับอินเทอร์เน็ตและเกมส์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ อ. วรกิจ วิริยะเกษามงคล หัวหน้าแผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี

  3. ประเด็นคำถาม • ใครไม่เคยใช้อินเทอร์เน็ต • ใครไม่มีอินเทอร์เน็ตที่บ้าน • ใครไม่เคยเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ • ใครไม่เคยเล่นเกมส์ออนไลน์ • ใครไม่เคย Chat • ใครไม่เคยดูเว็บโป๊ • ฯลฯ

  4. ประเด็นวิพากย์ • ภัยร้ายที่เกิดกับเด็กและเยาวชน • ภัยร้ายที่เกิดกับระบบการศึกษา • ภัยร้ายที่เกิดกับสังคม • ภัยร้ายที่เกิดกับเศรษฐกิจ • ภัยร้ายที่เกิดกับองค์กร • ภัยร้ายที่เกิดกับความมั่นคงปลอดภัย • ฯลฯ

  5. อะไรคือภัยร้ายที่แฝงมากับอินเทอร์เน็ตอะไรคือภัยร้ายที่แฝงมากับอินเทอร์เน็ต • นักวิชาการเตือนภัยอินเทอร์เน็ต ล่าสุดแฮ็กเกอร์ใช้วิธีพิชชิ่งเจาะเครือข่าย เลียนแบบเว็บไซต์สถาบันการเงินขโมยชื่อผู้ใช้รหัสลับ • สยองภัยอินเทอร์เน็ต หั่นศพคู่แชท จับหนุ่มปากีฯ ฆ่าหั่นศพครูสาวยัดใส่กระเป๋าทิ้ง หลังแชทกันทางอินเทอร์เน็ต เหยื่อบินจาก จ.อุบลฯมาหาถึง กทม. • ภัยอินเทอร์เน็ต อ้างตัวเป็นหนุ่มแบงก์ลูกชายเจ้าของ รพ.ดัง ตุ๋นสาวได้เงินไปกว่า 2 ล้านบาท จากการเล่น "เอ็มเอสเอ็น" เผยหลังรู้จักบนเน็ตไม่นาน • นักศึกษา ใสซื่อให้เบอร์ฮัลโหลมารับถึงที่เรียน หลอกข่มขืนยับนักศึกษาปี 1 วิทยาลัยชื่อดังเข้าไปเล่นเน็ต เจอดีถูกมารสังคมเเชตเข้ามาตีสนิท • ฯลฯ

  6. อะไรคือภัยที่แฝงมากับเกมส์อะไรคือภัยที่แฝงมากับเกมส์ • เนคเทค เผยภัยอินเทอร์เน็ต เกมออนไลน์ดูดกลุ่มเด็ก จ่ายเดือนละกว่า 2,500 บาท • 2 โจ๋คลั่งแร็กนาร็อก ชิงทองไปเล่นเกม • เด็กอายุ 13 เมืองสองแควตั้งแก๊งตระเวนงัดบ้านพัก กุฏิพระ สารภาพทำมาแล้วกว่า 10 ครั้ง รวมทั้งบ้าน ผกก.อก.ภ.จว. หาเงินเที่ยวและเล่นเกมส์ออนไลน์ • นายเป็นหนึ่ง อายุ 17 ปี นักเรียน ชั้น ม.6 ชอบเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ยิงต่อสู้กันอย่างชนิดบ้าคลั่ง ไม่ยอมทำการบ้าน หนังสือไม่ยอมอ่าน จากที่เคยเรียนดี อยู่ห้องลำดับที่ 2 ของชั้น ต้องถูกลดชั้นมาอยู่ห้อง 4 สับสน เครียด พาลน้อยใจในความตกต่ำ ซ้ำยังคิดว่าใครๆ ก็ไม่รักก็เลยฆ่าตัวตาย • ฯลฯ

  7. ความร้ายแรงจากปัญหาของเกมส์ความร้ายแรงจากปัญหาของเกมส์ • นักศึกษาชาวเกาหลี ติดเกมส์รุนแรง ไล่ฆ่าอาจารย์และนักศึกษาที่เวอร์จิเนียร์ สหรัฐอเมริกา • หนุ่มอายุ 20 ปี ติดเกมส์ Counter Strike อย่างหนัก ทะเลาะวิวาทไล่ยิงคนที่ตลาดไท ยิงตำรวจตาย 2 เหตุเพราะชอบเล่นเป็นโจรในเกมส์ • นักเรียน ม.6 ติดเกมส์ GTA เลียนแบบเกมส์ฆ่าแท็กซี่เพราะคิดว่าไม่ใช่เรื่องผิดอะไร และไม่ได้ยากเย็นนัก

  8. พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของเด็กไทยปัจจุบันพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของเด็กไทยปัจจุบัน • เด็กกว่า 13% มีเพศสัมพันธ์กับคนที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต • เกือบครึ่งหนึ่งของวัยรุ่นฮ่องกงมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่รู้จักผ่านอินเทอร์เน็ต • เด็กกว่า 60 % เคยดูภาพ/คลิปโป๊ทางอินเทอร์เน็ต • เด็กกว่า 70% สนทนากับคนที่ไม่รู้จักออนไลน์ • เด็กกว่า 80% ใช้เวลาเล่นเน็ตเล่นเกมมากเกินไป • เกือบครึ่งของครูและผู้ปกครอง ไม่รู้ว่าเด็กทำอะไรในอินเทอร์เน็ต และไม่รู้ว่าควรรับมืออย่างไร

  9. คนไทยรุ่นใหม่ในสังคมโลกาภิวัตน์ 7C ดร.โสภา ชูพิกุลชัย ชปีลมันน์ ราชบัณฑิตสาขาจิตวิทยา • Credit Card • Car • Computer • Communication • Condominium • Club • Condom

  10. เหตุที่เราต้องมาพบกันเหตุที่เราต้องมาพบกัน • “ปัญหาของผู้ปกครองในปัจจุบันคือตามลูกไม่ทัน” ปรเมศวร์ มินศิริ นายกสมาคมผู้ดูแลเว็บไทย(2549) • ผลสำรวจรวบรวมสถิติเว็บไซท์ ทรูฮิต Truehits.net ระบุพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตภาพรวมของคนไทยในปี 2006 เข้าเว็บไซท์เน้นบันเทิงเป็นหลัก คำที่ใช้ค้นหามากที่สุด 3 อันดับแรกคือคำว่า เกมส์, ดวง และเพลง สะท้อนพฤติกรรมการเข้าเว็บไซท์ว่าเน้นบันเทิงมาก • อาชญากรรมแบบใหม่ /พฤติกรรมเด็กเปลี่ยนไป • ภัยร้ายจากอินเทอร์เน็ตและเกมส์เข้ามาถึงในบ้าน

  11. ภัยร้ายบนอินเทอร์เน็ต 10 ประการ • Malware with Social Engineering Technique Attack • SPAM Mail Attack • Instant Messaging/ Peer to Peer Attack • PHISHING, PHARMING and GOLD FARMING Attack • Denial of Services and Distributed Denial of Services Attack • Web Server and Web Application Attack • BOTNETS Attack • ROOTKITS attack • Mobile and Wireless Attack • Google Hacking Attack

  12. HACKER

  13. CAMFROG • ไทยพุ่งอันดับ 1 โชว์สยิวลามก ในแคมฟร็อก ดีเอสไอ – ขู่จับ สรุปประเด็นข่าวโดยกระปุกดอทคอม ภาพประกอบทางอินเทอร์เน็ต ไม่เกี่ยวข้องกับข้อมูล วานนี้ (28 ม.ค.) พ.ต.อ.ญาณพล ยั่งยืน ผู้บัญชาการสำนักคดีเทคโนโลยีและสารสนเทศ กรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือดีเอสไอ กระทรวงยุติธรรม เปิดเผยว่า จากการที่ได้ติดตามตรวจสอบโปรแกรมแคมฟร็อก ซึ่งเป็นโปรมแกรมที่วัยรุ่น คนหนุ่มสาวเข้าไปแชตพูดคุย สนทนา รวมไปถึงโชว์ลามกอนาจาร มีเพศสัมพันธ์ ผ่านกล้องที่ถ่ายทอดไปสู่กลุ่มเพื่อนที่เข้ามาดูตามห้องต่างๆ นั้น จากที่ประเทศไทยมีคนเข้าไปใช้โปรแกรมนี้มากเป็นอันดับ 3 ของโลก แต่ในช่วง 2 - 3 เดือนที่ผ่านมา พบว่าขณะนี้คนไทยเข้าไปเล่นมากเป็นอันดับ 1 ของโลก

  14. CAMFROG

  15. ทำไมถึงติดเกม? • ปัจจัยแรกคือ ความต้องการสร้างตัวตน/มีตัวตนของเด็ก • ใครเล่นเก่ง จะเป็นที่รู้จัก เป็นที่ยอมรับ เด็กจะภาคภูมิใจในตนเองอย่างมาก รู้สึกว่าตัวเองมีคุณค่า มีความสามารถ จึงทำให้ถลำลึก ติดเกมงอมแงมยิ่งขึ้น • ปัจจัยที่สองคือ ความอบอุ่นของครอบครัว • ครอบครัวอบอุ่นน้อยเท่าไหร่ เด็กก็ต้องหาที่พึ่งพิงหาความ สุขทางใจจากที่อื่น การเล่นเกมเป็นทางหนึ่ง ที่ทำให้เขาหลุดเข้าไปในโลกส่วนตัว สนุกสนาน เพลิดเพลิน มีความสุข จนเกิดอาการติดเกมงอมแงม • ปัจจัยที่สาม คือสิ่งแวดล้อมหรือปัจจัยภายนอก ได้แก่ครอบครัว เพื่อน รวมถึงพัฒนาการของเกม

  16. คำอธิบายเกมส์ • เกมส์นี้เป็นเกมส์แนวเดียวกับRagnarok ที่โด่งดังในประเทศไทยมาแล้วแต่ตัวละครมันเจ๋งกว่าเพราะว่าเป็น effect realtime ไม่ใช่เดิน ๆ แล้วยิงskill เหมือนของเด็กเล่น Skill จะมี effect ออกมาเมื่อก่อนเกมส์แนว 2D มีแต่แนวที่เจอศัตรูแล้วก็ฆ่าเก็บแบบเดิน ๆ ยิง เดินๆ ยิง ใช้ดาบก็จะเห็นเป็นดาบฟันจริง ๆ ไม่ใช่แบบดินไปตีแบบเดิม ๆ คือดาบจะมีการฟันศัตรูจนตายคล้ายๆ 3Dmmorpg ส่วนนักเวท หรือนักธนูก็จะมีeffect ธนูพุ่งออกไป หรือเวทมนต์จู่โจม อย่างเห็นได้ชัด

  17. เกมส์แฝงความรุนแรง

  18. เกมส์แฝงเร้นทางเพศ

  19. ชุมชนเกมส์ออนไลน์

  20. ชุมชนเกมส์

  21. ชุมชนเกมส์

  22. หลักการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยหลักการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย • ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัว ไม่บอกชื่อนามสกุลจริง ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ • ไม่ส่งหลักฐานส่วนตัวของตนเองและคนในครอบครัวให้ผู้อื่น • ไม่ควรโอนเงินให้ใครอย่างเด็ดขาด นอกจากจะเป็นญาติสนิทที่เชื่อใจได้จริงๆ • ไม่ออกไปพบเพื่อนที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต • ระมัดระวังการซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ต • ให้เด็กบอกพ่อแม่ผู้ปกครองหรือคุณครู ถ้าถูกกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ต • ไม่เผลอบันทึกยูสเซอร์เนมและพาสเวิร์ดในเครื่องคอมพิวเตอร์ • การใช้โปรแกรม MSN อย่างปลอดภัย

  23. หลักการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย (2) • ระวังการใช้กล้องเว็บแคม • ไม่ควรบันทึกภาพวิดีโอ หรือเสียงที่ไมเหมาะสมบนคอมพิวเตอร์ หรือบนมือถือ • จัดการกับ Junk Mail จังค์ เมล์ หรือ อีเมล์ขยะ • จัดการกับแอดแวร์ สปายแวร์ • จัดการกับไวรัสคอมพิวเตอร์ • เซิร์ชข้อมูลอย่างปลอดภัย ด้วย Google • กรองเว็บไม่เหมาะสม • POP-UP Blocker • ปลาวาฬ บราวเซอร์ (Plawan Browser )

  24. การแก้ปัญหาทางเทคนิค

  25. วิธีการป้องกัน-แก้ไข ปัญหาเด็กติดเน็ต ติดเกม • ไม่ตั้งเครื่องคอมไว้ในห้องนอนหรือห้องส่วนตัว ควรวางไว้ในพื้นที่ส่วนกลาง • จัดตารางเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต • โปรแกรมกรองเว็บไม่เหมาะสม • ทำกิจกรรมร่วมกันในครอบครัว เพื่อดึงเวลาเด็กออกจากเกม/เน็ต • ลองซื้อเกมสนุกแต่สร้างสรรค์ให้ • เบนความสนใจของเด็กออกจากเน็ต/เกมด้วยดนตรี กีฬา • คุยกับเด็กอย่างตรงไปตรงมาถึงพฤติกรรมติดเน็ต/ติดเกม

  26. สำหรับเด็กที่มีปัญหาติดเกมติดอินเทอร์เนตขั้นโคม่าสำหรับเด็กที่มีปัญหาติดเกมติดอินเทอร์เนตขั้นโคม่า • สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ • เว็บไซท์ http://www.icamtalk.com/ • สายด่วน โทร 0-23548300, 023548305-7 • มูลนิธิเครือข่ายครอบครัว • เว็บไซท์ www.familynetwork.or.th • โทรศัพท์ 0-2954-2346-7 โทรสาร 0-2954-2348

  27. อย่าให้เป็นเช่นนี้เลยอย่าให้เป็นเช่นนี้เลย

  28. วิทยากร • ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือprachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com โทร : 081-7037515 • อ.วรกิจ วิริยะเกศามงคล หัวหน้าแผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี worakitw@hotmail.com

More Related