1 / 27

ทุน NSTDA Chair Professor

ทุน NSTDA Chair Professor. ทุนนักวิจัยแกนนำ. ( Research Chair Grant ). โดย รศ.นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์. รองผู้อำนวยการ. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. BIOTEC. MTEC. NECTEC. NANOTEC. อาหารและการเกษตร. การแพทย์และสาธารณสุข. ยานยนต์และ การขนส่ง. สิ่งทอและเคมีภัณฑ์.

kalea
Download Presentation

ทุน NSTDA Chair Professor

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทุน NSTDA Chair Professor ทุนนักวิจัยแกนนำ (Research Chair Grant) โดย รศ.นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

  2. BIOTEC MTEC NECTEC NANOTEC อาหารและการเกษตร การแพทย์และสาธารณสุข ยานยนต์และ การขนส่ง สิ่งทอและเคมีภัณฑ์ เซรามิกส์ ซอฟต์แวร์ ไมโครชิป อิเล็กทรอนิกส์ ชุมชนชนบทและผู้ด้อยโอกาส พลังงานและสิ่งแวดล้อม NSTDA Implementation Funding CPMO CPMO = Cluster and Program Management Office (สำนักบริหารจัดการคลัสเตอร์และโปรแกรม)

  3. ทุนนักวิจัยแกนนำ ทุน NSTDA Chair Professor • - ระยะเวลา 5 ปี • งบประมาณ 20 ล้าน • - ผู้สมัคร : ศ./ • เทียบเคียงได้กับ ศ. • - ที่ปรึกษาทางเทคนิค • - คณะกรรมการทุน • นักวิจัยแกนนำ • - เปิดปีละ 1 รอบ • - Competitive grant • (2 ทุน) • - ระยะเวลา 5 ปี • งบประมาณ 20 ล้าน • - ผู้สมัคร : ศ./ • เทียบเคียงได้กับ ศ. • - ที่ปรึกษาทางเทคนิค • - คณะกรรมการร่วม NSTDA • Chair Professor • - เปิดปีละ 1 รอบ • - Competitive grant • (1 ทุน) CPMO HRD RDE โครงการวิจัย พัฒนา และวิศวกรรม • - ระยะเวลา 1-5 ปี • งบประมาณ (ขึ้นกับแผนงานวิจัย) • - ผู้สมัคร : ศ./รศ./ผศ./ดร. • - คณะอนุกรรมการด้านเทคนิค • - คณะกรรมการคลัสเตอร์ • - เปิดรับโครงการตลอดเวลา • - ไม่มีการแข่งขัน

  4. ทุน NSTDA ChairProfessor จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2551

  5. ทุน NSTDA Chair Professor วัตถุประสงค์ เพื่อสร้าง “ศาสตราจารย์ที่เป็นผู้นำกลุ่ม”ที่เป็นผู้นำภาควิชาการ พัฒนา และสามารถเชื่อมโยงกับภาคการผลิตและบริการ ซึ่งจะเป็นการยกระดับการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยต่อไป

  6. ทุน NSTDA Chair Professor แนวคิดการจัดตั้งทุน แนวคิดการจัดตั้งทุน

  7. ทุน NSTDA Chair Professor ขอบเขตการสนับสนุน • ให้ทุนสนับสนุน 1 ทุน • ระยะเวลารับทุน 5 ปี • งบประมาณ ไม่เกิน 20 ล้านบาท

  8. ทุน NSTDA Chair Professor ขอบเขตงานวิจัยที่ให้การสนับสนุน 1. งานวิจัยด้านประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (Energy Efficiency) 2. งานวิจัยด้านวัสดุศาสตร์ (Material Science) ที่เหมาะกับประเทศไทย

  9. ทุน NSTDA Chair Professor เป้าหมาย • หวังว่าจะเป็นกลไกหนึ่งที่สามารถเชื่อมโยงกับภาคการผลิตและบริการ • เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ภาคการศึกษาในด้านการวิจัยและพัฒนา • ยกระดับความสามารถในการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย • มุ่งเน้นให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานวิจัยที่เป็นรูปธรรม ที่เป็นประโยชน์ต่อทั้งภาคอุตสาหกรรมและสังคมโดยรวม

  10. 1. หมวดค่าจ้าง/ค่าตอบแทน (ไม่เกิน 40% ของงบประมาณทั้งหมด) • หัวหน้าโครงการประมาณ 50,000 บาท/เดือน (1 คน) • ผู้ร่วมวิจัย ประมาณ 20,000-35,000 บาท/เดือน • นักวิจัยหลังปริญญาเอกประมาณ 20,000-35,000 บาท/เดือน (2 คน) • เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มวิจัยประมาณ 10,000 บาท/เดือน (1 คน) 2. หมวดทุนศึกษาวิจัย (ค่าลงทะเบียน และค่าใช้จ่ายประจำเดือน) • ระดับปริญญาเอกไม่เกิน 195,000 บาท/ปี (≤3 คน เป็นเวลา 3 ปี) • ระดับปริญญาโทไม่เกิน 163,500 บาท/ปี (≤8 คน เป็นเวลา 2 ปี) 3. หมวดค่าวัสดุ/สารเคมี/ครุภัณฑ์ขนาดเล็ก ไม่เกิน 2,000,000 บาท/ปี 4. หมวดค่าใช้สอย (ค่าวิเคราะห์ตัวอย่าง, ค่าเดินทางเพื่อปฏิบัติงานในประเทศ, ค่าจัดประชุมหารือ และอื่นๆ)ไม่เกิน 300,000 บาท/ปี 5. หมวดค่าเดินทางต่างประเทศไม่เกิน 100,000 บาท/ปี 6. หมวดค่าบริหารโครงการ ไม่เกิน 400,000 บาท (5 ปี) 7. หมวดความร่วมมือกับภาคการผลิตและบริการ ไม่เกิน 400,000 บาท (5 ปี) การสนับสนุนงบประมาณ

  11. ทุนนักวิจัยแกนนำ (Research Chair Grant)

  12. ทุนนักวิจัยแกนนำ ขอบเขตการสนับสนุน • สนับสนุนโดยงบประมาณของ สวทช. • ให้การสนับสนุน 2 ทุนต่อปี • ระยะเวลารับทุน 5 ปี • งบประมาณสนับสนุน ไม่เกิน 20 ล้านบาทต่อกลุ่มวิจัย

  13. ทุนนักวิจัยแกนนำ วัตถุประสงค์ • สนับสนุนกลุ่มนักวิจัยที่มีความสามารถในการวิจัยให้สามารถ ทุ่มเทเวลาและสติปัญญาในการวิจัยและพัฒนาได้อย่างเต็มที่ • เกิดการรวมกลุ่มทำวิจัยเพื่อสร้างทีมวิจัยที่แข็งแกร่งขึ้น • สร้างให้เกิดความมีส่วนร่วมและเชื่อมโยงระหว่างภาคความรู้และภาค การผลิตและบริการหรือภาคสังคม • รักษากำลังคนระดับสูงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  14. ทุนนักวิจัยแกนนำ ขอบเขตงานวิจัยที่ให้การสนับสนุน ควรอยู่ภายใต้ 4 สาขาเทคโนโลยีซึ่งครอบคลุม 8 คลัสเตอร์งานของ สวทช. เทคโนโลยีหลัก ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ด้านนาโนเทคโนโลยี ด้านเทคโนโลยีโลหะและวัสดุ ด้านเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ คลัสเตอร์ อาหารและการเกษตร การแพทย์และสาธารณสุข ซอฟต์แวร์ ไมโครชิป อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์และการขนส่ง พลังงานและสิ่งแวดล้อม เซรามิกส์ สิ่งทอและเคมีภัณฑ์ การวิจัยและพัฒนาและถ่ายทอด เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาชุมชนชนบท และผู้ด้อยโอกาส

  15. ทุนนักวิจัยแกนนำ ขอบเขตงานวิจัยที่ให้การสนับสนุน (ต่อ) มุ่งเน้นประเด็นงานวิจัย ในด้าน การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับนานาชาติ การลดปัจจัยที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน หรือการปรับตัวเข้ากับ สภาวะโลกร้อนและด้านพลังงานทดแทน การลดช่องว่างทางเศรษฐกิจและสังคม การเพิ่มความเข้มแข็งของ ชุมชนชนบทและผู้ด้อยโอกาส

  16. ทุนนักวิจัยแกนนำ ผลที่คาดว่าจะได้รับ กลุ่มนักวิจัยแกนนำที่มีประสิทธิภาพและศักยภาพสูง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบจำนวนหนึ่ง การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ และการนำไปใช้เชิงสาธารณประโยชน์ โครงสร้างในการพัฒนาวิชาชีพนักวิจัยที่ชัดเจน และมีความต่อเนื่อง นักศึกษาระดับปริญญา โท เอก และหลังปริญญาเอก

  17. คุณสมบัติผู้สมัคร • หัวหน้าโครงการมีประสบการณ์สูง เทียบเคียงได้กับศาสตราจารย์ และต้องเป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการ • หัวหน้าโครงการและคณะ ต้องมีผลงานวิจัย สิทธิบัตร หรือการตีพิมพ์อย่างต่อเนื่อง • กลุ่มวิจัยมีโครงสร้างที่เข้มแข็ง • นักวิจัยในภาครัฐ ภาคเอกชน และทั้งเป็นคนไทย และคนต่างประเทศ ทั้งนี้ต้องได้รับการยินยอมจากต้นสังกัด สามารถนำงานวิจัยเป็นประโยชน์ต่อสังคมในวงกว้างได้ กรณีชาวต่างชาติ ต้องปฏิบัติงานในสถาบันวิจัยที่เอื้อประโยชน์กับประเทศ/สถาบันไทย

  18. การส่งข้อเสนอโครงการ ผู้สมัครจะต้อง แสดงปัญหาหลักของหัวข้อวิจัย แนวทางในการ แก้ปัญหาความรู้ความ ชำนาญในเรื่องที่นำเสนอ ผู้สมัครต้องเสนอ วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ และผลงานเด่นที่คาดว่าจะได้รับ เสนอแผนงานหลักที่จะดำเนินการใน 5 ปี และ วัตถุประสงค์ของโครงการย่อยที่จะเกิดตามแผนงานหลัก เสนอแผนงบประมาณรายปี / งบประมาณรวม 5 ปี เสนอแผนงานพัฒนากำลังคนของกลุ่ม

  19. การส่งข้อเสนอโครงการ (ต่อ) ผู้สมัครจะต้องเสนอ 6.เสนอผลลัพธ์และผลกระทบต่างๆ ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ ซึ่งรวมถึงผลงานเชิงพาณิชย์ สิทธิบัตร สิ่งตีพิมพ์ระดับนานาชาติ และระดับชาติ การนำเสนอผลงาน การถ่ายทอดเทคโนโลยีต่างๆ 7. แนบประวัติเต็มคณะผู้วิจัยทุกท่าน

  20. 1. หมวดค่าจ้าง/ค่าตอบแทน (ไม่เกิน 40% ของงบประมาณทั้งหมด) • หัวหน้าโครงการประมาณ 50,000 บาท/เดือน (1 คน) • ผู้ร่วมวิจัย ประมาณ 20,000-35,000 บาท/เดือน • นักวิจัยหลังปริญญาเอกประมาณ 20,000-35,000 บาท/เดือน (2 คน) • เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มวิจัยประมาณ 10,000 บาท/เดือน (1 คน) 2. หมวดทุนศึกษาวิจัย (ค่าลงทะเบียน และค่าใช้จ่ายประจำเดือน) • ระดับปริญญาเอกไม่เกิน 195,000 บาท/ปี (≤3 คน เป็นเวลา 3 ปี) • ระดับปริญญาโทไม่เกิน 163,500 บาท/ปี (≤8 คน เป็นเวลา 2 ปี) 3. หมวดค่าวัสดุ/สารเคมี/ครุภัณฑ์ขนาดเล็ก ไม่เกิน 2,000,000 บาท/ปี 4. หมวดค่าใช้สอย (ค่าวิเคราะห์ตัวอย่าง, ค่าเดินทางเพื่อปฏิบัติงานในประเทศ, ค่าจัดประชุมหารือ และอื่นๆ)ไม่เกิน 300,000 บาท/ปี 5. หมวดค่าเดินทางต่างประเทศไม่เกิน 100,000 บาท/ปี 6. หมวดค่าบริหารโครงการ ไม่เกิน 400,000 บาท (5 ปี) 7. หมวดความร่วมมือกับภาคการผลิตและบริการ ไม่เกิน 400,000 บาท (5 ปี) การสนับสนุนงบประมาณ

  21. กระบวนการพิจารณาคัดเลือกกระบวนการพิจารณาคัดเลือก การสนับสนุนโครงการจะดำเนินการโดย คณะกรรมการ จำนวน 3 ชุด • คณะผู้เชี่ยวชาญภายนอก (Reviewers) ที่ได้รับความเห็นชอบและแต่งตั้งจากคณะกรรมการร่วมฯ เพื่อประเมินข้อเสนอโครงการ • คณะที่ปรึกษาทางเทคนิค • คณะกรรมการทุนฯ เพื่อพิจารณาความเห็นของคณะอนุกรรมการฯ ทั้ง 2 ชุด

  22. เกณฑ์การพิจารณา • พิจารณาคุณภาพของผลงานวิจัยและบุคคลเป็นหลัก • หัวหน้าโครงการต้องมีผลงานและความสามารถในการนำทีมวิจัยเทียบเคียงได้กับศาสตราจารย์ • มีโครงสร้างกลุ่มวิจัยและเครือข่ายที่เข้มแข็ง • มีศักยภาพในการเชื่อมโยงองค์ความรู้ด้านวิชาการเข้ากับภาคการผลิต • ควรมีผลงานวิจัยที่เป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ที่สามารถนำไปพัฒนาต่อยอด /ใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ หรือเชิงสาธารณประโยชน์ได้

  23. เกณฑ์การพิจารณา (ต่อ) • การประเมินติดตามโครงการ จะดำเนินการปีละ 1 ครั้ง โดยควรจัดให้มีการสรุปสถานภาพความก้าวหน้าของงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในภาพรวมของโลกด้วย นอกเหนือไปจากการส่งรายงานผลงานประจำปี • งบประมาณ ผู้รับทุนสามารถจัดหางบประมาณเพิ่มเติมได้เองด้วย ทั้งนี้ต้องรายงานให้สวทช. ทราบถึงแหล่งทุนอื่นที่ให้สนับสนุนโครงการดังกล่าว

  24. แผนการดำเนินงาน ปี 2551

  25. แผนการดำเนินงาน ปี 2551 (ต่อ)

  26. แผนการดำเนินงาน ปี 2551 (ต่อ)

  27. รายละเอียดเพิ่มเติม www.nstda.or.th/ChairProfessor สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โทร. 05 564 7000 ต่อ 2608 (ธนัชสร), 2610 (ฐิติวรรณ) E-mail: chair@nstda.or.th

More Related