1 / 61

รักลูก..... เลี้ยงเค้าให้ดี... ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ด้วยความผูกพัน... ที่แม่มี

รักลูก..... เลี้ยงเค้าให้ดี... ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ด้วยความผูกพัน... ที่แม่มี. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ อติวุทธ กมุทมาศ สูตินรีแพทย์ อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์. การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์มี 2 รูปแบบใหญ่ ๆ คือ

kaelem
Download Presentation

รักลูก..... เลี้ยงเค้าให้ดี... ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ด้วยความผูกพัน... ที่แม่มี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รักลูก..... เลี้ยงเค้าให้ดี... ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ด้วยความผูกพัน... ที่แม่มี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ อติวุทธ กมุทมาศ สูตินรีแพทย์ อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  2. การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์มี 2รูปแบบใหญ่ ๆคือ 1. การเจริญเติบโตทางโครงสร้าง 2.การพัฒนาการเกี่ยวกับระบบการทำงานต่างๆ ของร่างกาย ปัจจัยที่ส่งผลให้มีการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ 1. กรรมพันธุ์ 2. สิ่งแวดล้อม 3. สภาวะโภชนาการ 4. การปฎิบัติตนของมารดาระหว่างตั้งครรภ์

  3. การพัฒนาการของทารกในครรภ์การพัฒนาการของทารกในครรภ์ นับอายุครรภ์ตั้งแต่วันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย ไปจนครบ 40 สัปดาห์ อายุครรภ์ 5-6 สัปดาห์ มีพัฒนาการของระบบประสาทส่วนกลางและไขสันหลัง อายุครรภ์ 8-12 สัปดาห์ ทารกมีขนาดยาว 2.5 ซม. หัวโต แขนขาพัฒนาขึ้นเห็นอย่างชัดเจน หัวใจเริ่มเต้นเป็นจังหวะ

  4. อายุครรภ์ 16-20 สัปดาห์ ทารกมีขนาดยาวขึ้น 16 ซม.อวัยวะต่างๆพัฒนาเกือบทุกระบบ อวัยวะเพศชัดเจนสมบรูณ์ ผิวหนังดูใสและมีขนอ่อนขึ้น

  5. อายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์ ผิวหนังชุ่มชื้นขึ้น ปอดเริ่มทำงาน เริ่มเปิด-ปิดตา เริ่มได้ยินเสียง น้ำหนัก 600-1,000 กรัม อายุครรภ์ 32-40 สัปดาห์ ทารกมีนน.ตัวมากกว่า 1,600 กรัมขึ้นไป เจริญเติบโตเต็มที่ ปอดทำงานสมบูรณ์ เริ่มกลับศีรษะลง เตรียมพร้อมที่จะคลอด การคลอดส่วนใหญ่ จะอยู่ในช่วง 37-42 สัปดาห์

  6. อัตราการเพิ่มน้ำหนักตัวของมารดาระหว่างตั้งครรภ์อัตราการเพิ่มน้ำหนักตัวของมารดาระหว่างตั้งครรภ์ อัตราการเพิ่มน้ำหนักตัว ตลอดการตั้งครรภ์ ประมาณ 10-14 กิโลกรัม ช่วงอายุครรภ์ 0-12 สัปดาห์ น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 1-2 ก.ก 16-20 สัปดาห์ น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 1-1.5ก.ก/เดือน 24 สัปดาห์ขึ้นไป น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 1.5-2 ก.ก/เดือน

  7. น้ำหนักคุณแม่ขณะตั้งครรภ์น้ำหนักคุณแม่ขณะตั้งครรภ์ เพิ่มขึ้นจาก • ตัวลูก 3,300 กรัม • รก 680 กรัม • น้ำคร่ำ 900 กรัม • มดลูกที่ขยายขนาดขึ้น 900 กรัม • เต้านมที่ขยายขนาดขึ้น 900 กรัม • เลือดและน้ำในร่างกายที่เพิ่มปริมาณขึ้น 1,800 กรัม • ไขมันและโปรตีนของตัวคุณแม่ 4,000 กรัม

  8. สุขภาพที่ดีของลูกน้อยกำหนดได้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ด้วยปัจจัยอะไรบ้างสุขภาพที่ดีของลูกน้อยกำหนดได้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ด้วยปัจจัยอะไรบ้าง กรรมพันธุ์ สิ่งแวดล้อม อาหาร การปฏิบัติตนต่าง ๆ

  9. กรรมพันธุ์ • Gene • โรคทางกรรมพันธุ์ในครอบครัว • อายุของมารดาขณะตั้งครรภ์ • โรคประจำตัวของมารดา

  10. สิ่งแวดล้อม • สารพิษ • บุหรี่ • การทำงาน • สิ่งแวดล้อมในครรภ์ • อย่ารับประทานยาเองโดยไม่ปรึกษาแพทย์

  11. อาหารขณะตั้งครรภ์

  12. ภาวะโภชนาการ กับอาหารของมารดาตั้งครรภ์ ‘หลากหลาย’‘พอเหมาะ’‘สมดุล’ 1-3 เดือนควรรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5หมู่ เน้นอาหารที่มีกรดโฟลิกสูง ความจำเป็น: ทารกใช้สารอาหาร กรดโฟลิคในการสร้างอวัยวะต่างๆ และสร้างเซลสมอง 4-6 เดือนควรเน้นสารอาหาร แคลเซี่ยม เหล็ก ไอโอดีน รวมทั้งวิตามินต่างๆ ความจำเป็น: สารอาหารจำถูกนำไปใช้สร้างเซลต่างๆของอวัยวะเพิ่มขึ้น และเน้นโครงสร้างที่แข็งแรง มีขนาดเพิ่มขึ้น 7-9 เดือนควร เน้นอาหารโปรตีนจากเนื้อสัตว์ และถั่วต่างๆ กรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว และ วิตามินบี1,2,6,12 ความจำเป็น: เป็นระยะของการเพิ่มขนาดของเซลต่างๆ โดยเฉพาะเซลสมองที่มีการเจริญเติบโตสูงมาก

  13. อาหารที่ควรงดและหลีกเลี่ยงของมารดาตั้งครรภ์อาหารที่ควรงดและหลีกเลี่ยงของมารดาตั้งครรภ์ • หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่ปรุงไม่สุก หริอสุกๆดิบๆ • หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารกึ่งสำเร็จรูป อาหารกระป๋อง ที่มีส่วนผสมของผงชูรส • หลีกเลี่ยง เครื่องดื่มและอาหารที่มีสารคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ • ลดอาหารที่มีรสชาด เค็มจัด เผ็ดจัด และอาหารที่มันจัด • งดแอลกอฮอล์ และเหล้า • ลดอาหารหวานจัด

  14. โปรตีน : เพิ่ม

  15. ข้อเสนอแนะ • หลากหลายแหล่งโปรตีน • ดื่มนมวันละ 1-2 แก้ว

  16. คาร์โบไฮเดรต : ลด

  17. ข้อเสนอแนะ • จำกัดความหวานในอาหาร • ลดอาหารพวกแป้ง ข้าว เผือก มัน • ผลไม้รสหวาน ทุเรียน • น้ำอัดลม น้ำอ้อย น้ำตาลสด น้ำมะพร้าว

  18. กรดไซอะลิค (Sialic Acid) • เป็นสารอาหารกลุ่มคาร์โบไฮเดรต • เป็นตัวเชื่อมการส่งสัญญาณระหว่างเซลล์ประสาท • ช่วยให้มีพัฒนาการด้านการเรียนรู้และความจำ • ทำงานร่วมกับดีเอชเอ • ดื่มนมที่ผสมกรดไซอะลิค

  19. ไขมัน : ลดบางชนิด,เพิ่มบางชนิด ไขมันที่ควรเพิ่ม ไขมันที่ควรลด

  20. กรดไขมัน (Fatty acid) • เกิดจากการย่อยสลายของไขมันชนิดต่างๆ • มี 2 ชนิด คือ • กรดไขมันอิ่มตัว • กรดไขมันไม่อิ่มตัว

  21. กรดไขมันชนิดอิ่มตัวและไม่อิ่มตัว มีความสำคัญอย่างไร?

  22. กรดไขมันอิ่มตัว • เกาะและอุดตันในหลอดเลือดได้ง่าย • พบมากในไขมันสัตว์,น้ำมันหมู,น้ำมันมะพร้าว และ น้ำมันปาล์ม • ควรหลีกเลี่ยงการรับประทาน • ดื่มนมที่มีไขมันต่ำ หรือไม่มีไขมัน

  23. กรดไขมันไม่อิ่มตัว • ไม่เกาะและอุดตันในหลอดเลือด • พบมากในน้ำมันดอกคำฝอย, น้ำมันดอกทานตะวัน, ปลาทะเล และ สาหร่ายทะเล • มีประโยชน์ต่อพัฒนาการ ของสมองลูกน้อยในครรภ์

  24. กรดไขมันไม่อิ่มตัวที่สำคัญกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่สำคัญ กรดไขมันทั้ง 2 ชนิดนี้จัดเป็นกรดไขมันจำเป็น (Essential Fatty Acid)ซึ่งร่างกายสร้างเองไม่ได้ ต้องได้รับจากอาหารเท่านั้น

  25. กรดไขมันโอเมก้า 3 ที่สำคัญ รับประทานอาหารที่มีกรดโอเมก้า 3 (ปลาทะเล สาหร่ายทะเล) กรดอัลฟ่าไลโนลินิก (Alpha-linolenic acid) กรดไอโคซาเปนตาโนอิก (Eicosapentaenoic acid, EPA) กรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิก(Docosahexaenoic acid, DHA)

  26. กรดไขมันโอเมก้า 6 ที่สำคัญ รับประทานอาหารที่มีกรดโอเมก้า 6 (น้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันเม็ดทานตะวัน น้ำมันข้าวโพด) กรดไลโนเลอิค (Linoleic acid) กรดอะราคิโนนิค (Arachidonic acid, ARA)

  27. DHA (ดีเอชเอ)&ARA (เออาร์เอ) • กรดไขมันไม่อิ่มตัวสายโซ่ยาว • (Long chain polyunsaturated fatty acids ,LCPUFAs, พูฟ่า) • มีธาตุคาร์บอนจับกันเป็นสายยาวตั้งแต่ 14 ตัวขึ้นไป และ • มีคาร์บอนที่จับกันมากกว่า 2 แขน ตั้งแต่ 2 ตำแหน่งขึ้นไป • มีความสำคัญต่อ • การพัฒนาเซลล์สมองของลูกน้อยในครรภ์ • การพัฒนาเซลล์ที่จอตาของดวงตาลูกน้อย • ในครรภ์

  28. กรดไขมันโอเมก้า 9 • มีความสำคัญต่อการพัฒนาของ • เส้นใยในการรับส่งสัญญาณของเซลล์สมอง (Axonและ Dendrite) • ปลอกหุ้มเส้นใย มีมากในอาหารประเภท ไขมันเนย น้ำมันถั่วลิสง น้ำมันหมู น้ำมันมะกอก

  29. วิตามิน : เพิ่ม

  30. ข้อเสนอแนะ • เพิ่มวิตามินจากอาหาร ผัก ผลไม้ • ยาเม็ดวิตามิน? • มีความจำเป็นในแต่ละชนิดของวิตามินในการพัฒนาร่างกาย เช่น วิตามิน เอ บี ซี ดี อี เค • มีไฟเบอร์จากอาหารกลุ่มนี้ช่วยเรื่องท้องผูก เพราะสตรีตั้งครรภ์มักมีปัญหาท้องผูกบ่อย

  31. แร่ธาตุต่างๆ : เพิ่ม

  32. ธาตุเหล็ก • เป็นส่วนประกอบสำคัญของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง • จำเป็นต้องรับประทานเพิ่ม เช่น ตับ • และจำเป็นต้องรับประทานจากยาเม็ดธาตุเหล็กด้วย การรับประทานอาหารอย่างเดียวไม่เพียงพอ • นมเสริมธาตุเหล็ก

  33. โฟเลต • มีความจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของสมอง และระบบประสาท • โรคที่เกิดจากการขาดโฟเลต • ภาวะไม่มีเนื้อสมอง • มีน้ำในสมอง • ไขสันหลังไม่ปิด • กรดโฟลิคมีมากใน • ผักใบเขียว,ถั่วเหลือง,ส้ม,กล้วย • นมเสริมโฟเลต • ในบางกรณีอาจต้องรับประทานตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ อย่างน้อย 3 เดือน ประโยชน์อื่นๆ ของโฟเลต

  34. แคลเซียม • ได้จากนม • อาหารที่มีแคลเซียมสูง กระดูกอ่อน ปลาเล็กปลาน้อย • ยาเม็ดแคลเซียม • พัฒนาการสร้างกระดูกและฟัน

  35. เลซิติน • เป็นตัวสร้างอะเซตทิลโคลีน ซึ่งเป็นสารสื่อสัญญาณประสาท • หน้าที่สำคัญอื่น • เป็นองค์ประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์และเนื้อเยื่อของร่างกาย • ช่วยละลายไขมันทำให้ส่งไปในกระแสเลือดได้ • แหล่งของเลซิติน • ไข่แดง ตับ หัวใจสัตว์ • ข้าวสาลี ถั่วเหลือง เต้าหู้ • กระหล่ำดอก กระหล่ำปลี

  36. สังกะสี • มีความจำเป็นต่อการพัฒนาการทางร่างกายและระบบสืบพันธุ์ ทารกเพศชายต้องการสังกะสีมากกว่าทารกเพศหญิงถึง 5 เท่า หากขาดอาจเกิดภาวะทองแดงและเป็นหมัน • เกี่ยวข้องกับขนาดของศีรษะทารก • ช่วยให้ฮอร์โมนของคุณแม่สมดุล ช่วยลดอาการหน้าท้องแตกลาย • ช่วยในการฟื้นตัวของคุณแม่หลังคลอดได้ดีขึ้นเพราะฮอร์โมนสมดุลขึ้น • พบในไข่ หอยนางรม ถั่ว กล้วย • นมที่ผสมสังกะสี

  37. น้ำ : เพิ่ม

  38. การปฎิบัติตนที่ดีของคุณแม่การปฎิบัติตนที่ดีของคุณแม่ • ฝากครรภ์ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ • รับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ ให้ครบทั้ง 5หมู่ • ออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ • ดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพออย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว / วัน • งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และคาเฟอีน • งดการสูบบุหรี่ • พักผ่อนให้เพียงพอ • ไม่ควรใช้ยารับประทานเอง ควรอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ • ดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ

  39. การปฏิบัติที่น่าจะเป็นผลดีต่อการกระตุ้นพัฒนาการของเด็ก

  40. อารมณ์ดีอยู่เสมอ

  41. การฟังเพลง

  42. เสียงเมื่อผ่านผนังหน้าท้อง และ น้ำคร่ำจะ เบาลง 30 dB • หู ชั้นใน กลาง นอก สมบูรณ์ ช่วงกลางของการตั้งครรภ์ • ได้ยินเสียงเมื่ออายุครรภ์ ประมาณ 6 เดือน

  43. ตอบสนองต่อเสียงดนตรี • เคลื่อนไหวตามจังหวะ • จังหวะการเต้นของหัวใจเปลี่ยนแปลง • มีรายงานพัฒนาการเรื่องการพูด การฟังดีกว่า

  44. เพลงไพเราะ ฟังสบาย • อย่างน้อยวันละ 10 นาที

  45. คุยกับลูก

  46. คุยกับลูก หรือ ร้องเพลง • จากการศึกษาพบว่า ทารกแรกเกิดสามารถจำเสียงของแม่ได้ • ช่วง 6 เดือนขึ้นไป • ขณะลูกตื่น ดิ้น เตะ หรือ หลังรับประทานอาหารใหม่ๆ

More Related