1 / 6

บทที่ 7 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจระยะสั้น

ข้อมูลจากการบัญชีต้นทุน. ข้อมูลที่เป็นตัวเลข. ข้อมูลจากการบัญชีทั่วไป. แหล่งข้อมูล ภายในกิจการ. ความพึงพอใจของพนักงาน. ข้อมูลที่ไม่เป็นตัวเลข. แรงจูงใจของพนักงาน. แหล่งที่มาของข้อมูล เพื่อการตัดสินใจ. ความคิดเห็นของพนักงาน,ฯลฯ. ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าหรือผู้ใช้บริการ. แหล่งข้อมูล

julio
Download Presentation

บทที่ 7 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจระยะสั้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อมูลจากการบัญชีต้นทุนข้อมูลจากการบัญชีต้นทุน ข้อมูลที่เป็นตัวเลข ข้อมูลจากการบัญชีทั่วไป แหล่งข้อมูล ภายในกิจการ ความพึงพอใจของพนักงาน ข้อมูลที่ไม่เป็นตัวเลข แรงจูงใจของพนักงาน แหล่งที่มาของข้อมูล เพื่อการตัดสินใจ ความคิดเห็นของพนักงาน,ฯลฯ ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าหรือผู้ใช้บริการ แหล่งข้อมูล ภายนอกกิจการ ข้อมูลเกี่ยวกับคู่แข่ง ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมสิ่งแวดส้อม นโยบาย ความไม่แน่นอนของข้อมูล การตัดสินใจ การวางแผน การวัดผล การรู้จักเลือกใช้ข้อมูล ข้อมูลที่มาจากวิธีการบัญชีที่ต่างกัน การควบคุม ความน่าเชื่อถือของข้อมูลเชิงคุณภาพ ปัจจัยภายนอกที่มีผลกรทบต่ออข้อมูล บทที่ 7 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจระยะสั้น การวิเคราะห์ตัดสินใจระยะสั้นทางการเงิน มักจะใช้สำหรับระยะเวลาดำเนินการภายใน 1 ปี ระยะปานกลางคือ 1-5 ปี และระยะยาวคือ ตั้งแต่ 5 ปีขึ้น ข้อควรระวังในการใช้ข้อมูลทางการบัญชี เพื่อการตัดสินใจ ขั้นตอนการตัดสินใจเพื่อการบริหาร แผนผันความสำคัญของระบบข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ การค้นหาและระบุปัญหา กำหนดทางเลือกเพื่อแก้ปัญหา เก็บข้อมูลที่เกียวข้องกับทางเลือกแต่ละตัว วิเคราะห์เปรัยบเทียบทางเลือก ตัดสินทางเลือกที่เหมาะสม ติดตามผลกระทบจากการตัดสินใจ

  2. การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการตัดสินใจการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ รายได้และต้นทุนแตกต่างเพิ่มขึ้น รายได้และต้นทุนที่แตกต่าง ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ ตัดสินใจ(ต้นทุนหลีกเลี่ยงได้) รายได้และต้นทุนแตกต่างลดลง รายได้และต้นทุนตัดสินจากทางเลือกแรกเป็นฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อการตัดสินใจ ทางเลือกการตัดสินใจ รายได้และต้นทุนคาดว่าจะเกิดในอนาคต ไม่กระทบจากทางเลือกใด รายได้และต้นทุนยังเกิดขึ้น (ต้นทุนจม) ข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้องกับการ ตัดสินใจ(ต้นทุนหลีกเลี่ยงไม่ได้) ไม่มีผลในการตัดสินใจในปัจจุบัฯและอนาคต การวิเคราะห์ทางเลือกเพื่อการตัดสินใจ วิธีเปรียบเทียบข้อมูลโดยรวม วิธีวิเคราะห์ข้อมูลส่วนต่าง วิธีต้นทุนเสียโอกาส เทียบจากส่วนต่างของกำไรสุทธิโดยตรง เทียบจากส่วนต่างของผลการประกอบการโดยตรง เทียบจากส่วนต่างของผลการประกอบการลบด้วย โอกาสที่จะได้จากผลประกอบการของอีกทางเลือก

  3. การจำแนกประเภทปัญหาของการตัดสินใจการจำแนกประเภทปัญหาของการตัดสินใจ จากองค์ประกอบหลักจากอัตราผลตอบแทนการลงทุน คือ รายได้ ต้นทุนและเงินลงทุน • อัตตราผลตอบแทนการลงทุน = (กำไรสุทธิ / เงินลงทุน) x 100 • กำไรสุทธิ = รายได้ > รายจ่าย การจำแนกประเภทปัญหาของการตัดสินใจ แบ่งได้ 3 ประเภท • ปัญหาที่เกี่ยวกับต้นทุน • ปัญหาที่เกี่ยวกับรายได้และต้นทุน • ปัญหาที่เกี่ยวกับรายได้ ต้นทุน และเงินลงทุน ใช้วิธีวิเคราะห์ ต้นทุนส่วนต่าง หรือวิธีต้นทุนเสียโอกาศ ต้องดูปัจจัยเสริมเช่น คุณภาพจากการผลิตเองเทียบกับซื้อจากภายนอกด้วย การตัดสินใจผลิตเองหรือชื้อ การตัดสินใจดำเนินการผลิตต่อ หรือปิดโรงงานชั่วคราว ต้นทุน ดูจากปัจจัย ต้นทุนจมจากการปิดโรงงาน และ การขาดทุนเนื่องจากดำเนินการผลิตต่อ จุดปิดโรงงาน = (ต้นทุนคงที่ +ต้นทุนเมื่อปิดโรงงาน) / กำไรส่วนเกินต่อหน่วย ระดับการผลิต(เครื่อง)เทียบยอดผลิตและจำหน่ายว่า มี มากกว่าและเท่ากัน หรือ น้อยกว่า และ ใช้วิธีวิเคราะห์ เปรียบเทียบข้อมูลโดยรวม ต้องดูปัจจัยเสริมเช่นขวัญและกำลังใจของพนักงาน การสูญเสียลูกค้าให้กับคู่แข่ง การตัดสินใจเปลี่ยนแปลงวิธีการผลิต การตัดสินใจยกเลิกสายการผลิตภัณฑ์ การตัดสินใจรับใบสั่งซื้อพิเศษ รายได้ + ต้นทุน ใช้วิธีวิเคราะห์ ต้นทุนส่วนต่าง ต้องดูปัจจัยเสริมเช่น กระทบกับขวัญและกำลังใจ ของพนักงานหรือไม่ ค่าบำรุงรักษาเครื่องจักร และ อะไหล่หาได้ทั่วไปหรือไม่ การตัดสินใจจำหน่ายหรือผลิตต่อของผลิตภัณฑ์ร่วม 1.ข้อมูลในการพิจารณาเปรียบเทียบ - ดูจากรายได้ที่ลงลง จากการเลิกผลิต -ดูจากต้นทุนที่ลดลงหรือต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ จากการเลิกผลิต 2.เกณฑ์ในการตัดสินใจ -ถ้าต้นทุนที่ลดลงหรือต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้มีมากกว่า รายได้ที่ลดลง ให้ยกเลิกการผลิต –ถ้าต้นทุนที่ลดลงหรือต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้มีน้อย กว่ารายได้ที่ลดลงแสดงว่ามีกำไร ใช้วิธีวิเคราะห์ เปรียบเทียบข้อมูลโดยรวม และ วิธีเปรียบเทียบข้อมูลส่วนต่าง 1กิจการมีกำไรจากการทำการผลิตร่วมต่อและนำไปจำหน่ายหรือไม่ 2กิจการควรทำการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ร่วมที่จุดแยกนี้ พิจารณาจาก -ต้นทุนร่วมที่เป็นต้นทุนที่เกิดขึ้นก่อนร่วมจุดแยก ไม่มีผลต่อการตัดสินใจ เพราะเป็นต้นทุนจม -รายได้ที่กิจกรรมได้รับเพิ่มขึ้นเมื่อทำการผลิตต่อเรียกว่ารายได้ส่วนเพิ่ม -ต้นทุนที่จะใช้ในการผลิตต่อเรียกว่า ต้นทุนส่วนเพิ่ม เกณฑ์ตัดสิน จาก ถ้ารายได้ส่วนเพิ่มสูงกว่าต้นทุนส่วนเพิ่ม ควรทำต่อไป ถ้าต้นทุนส่วนเพิ่มสูงกว่ารายได้ส่วนเพิ่ม ควรจำหน่ายทิ้ง ใช้วิธีวิเคราะห์ วิธีเปรียบเทียบข้อมูลโดยรวม • การรับใบสั่งซื้อพิเศษทำให้กิจการได้รายได้ส่วนเพิ่มสูงกว่าต้นทุนส่วนเพิ่ม • -กิจการยังมีกำลังการผลิตว่างเปล่าเหลือ เครื่องจักรไม่ได้ใช้ประโยชน์การผลิต • ตลอดจนกิจการยังไม่มีโครงการใหม่ๆ • -เหตุผลจากสภาวะเศษฐกิจและการต่อสู้กับคู่แข่งขัน • -การรับใบสั่งซื้อพิเศษไม่มีผลกระทบต่อการผลิตและการจำหน่ายปกติ • ใช้วิธีวิเคราะห์ วิธีเปรียบเทียบข้อมูลส่วนต่าง ถ้ามีกำลังผลิตเหลือควรจะรับ

  4. บทที่ 8 การเพื่อการลงทุนในระยะยาว การวิเคราะห์ตัดสินใจทางการเงิน ระยะสั้นคือเวลาดำเนินการภายใน 1 ปี ระยะปานกลางคือ 1-5 ปี และระยะยาวคือ ตั้งแต่ 5 ปีขึ้น งบประมาณการลงทุน หรือเรียกว่า การวิเคาระห์รายจ่ายลงทุนหรือการจัดทำงบลงทุน หมายถึง แผนการดำเนินงานเกี่ยวกับการตัดสินใจระยะยาว ซึ่งเกี่ยวกับการลงทุนในด้านทุน (Capital investment) เป็นการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรต่างๆที่ต้องใช้เงินทุนจำนวนมาก และให้ผลตอบแทนอนาคตระยะยาว ซึ่งเป็นสิ่งที่คาดคะเนได้ยาก มีความมไม่แน่นอน และความเสี่ยงรวมอยู่ ความสำคัญของโครงการลงทุน 1.เกิดรายได้หรือลดรายจ่ายในการดำเนินกิจการ ซึ่งทำให้มีกำไร 2.ใช้เงินจำนวนมากในการลงทุน 3.มีความเสี่ยงเกี่ยงกับกระแสเงินสดที่จะได้รับจากการลงทุน 4.มัความยืดหยุ่นน้อยมากในการเปลี่ยนแปลงหลังการตัดสินใจ ทำการแก้ไขยากเมื่อมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ความเป็นไปได้ของโครงการลงทุน การศึกษาความเป็นไปได้ถึงผลที่จะเกิดจากการดำเนินการลงทุน 1.ความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค 2.ความเป็นไปได้ทางการตลาด 3.ความเป็นไปได้ทางการเงิน ประเภทของโครงการลงทุน 1. สินทรัพย์ระยะยาวใหม่ๆ 2.ผลิตภัณฑ์ใหม่หรือขยายผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่เดิม 3.การตัดสินใจการลงทุนทดแทน 4.R&D 5.การสำรวจ 6.อื่นๆตามนโยบาย ความสัมพันธ์ระหว่างโครงการลงทุน 1. โครงการอิสระ 2.โครงการที่มีวัตถุประสงค์เดียวกัน 3.โครงการลงทุนที่ขึ้นต่อกัน ขั้นตอนการวิเคราะห์การลงทุน การจัดทำโครงการเพื่อการลงทุน 8.1.3 ควรทำความเข้าใจเพิ่ม การกำหนดโครงการ จำแนกประเภทของเงินลงทุน กระแสเงินสดสุทธิ = ประมาณการรายได้ - ประมาณการรายจ่าย - ภาษีเงินได้ + ค่าใช้จ่ายที่ไม่จ่ายเป็นเงินสด - รายได้ที่ไม่ได้รับเป็นเงินสด การประมาณกระแสเงินสดของโครงการ ประมาณการเงินลงทุนจายตามโครงการ การวิเคราะห์และประเมินค่าโครงการ ประมาณการกระแสเงินสดรับสุทธิ คัดเลือกโครงการที่เหมาะสมที่จะดำเนินการ ผลตอบแทนที่ไดรับจากการลงทุน การดำเนินการตามโครงงาน อัตราผลตอบแทนต่ำสุดที่ยอมรับได้ ติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการ ค่าเสื่อมราคาและภาษีเงินได้ในโครงการ

  5. การคำนวนหาค่าปัจจุบันของเงิน ได้จาก (Interest Rate or Discount Rate)อัตราคอกเบี้ยหรือัตราส่วนลดเงินสด เป็นการนำอัตราที่นำมาปรับค่าเงินสดที่จะได้รับในอนาคตให้เป็นค่าปัจจุบัน อาจเป็นอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก, เงินกู้ หรือต้นทุนการลงทุน รวมไปถึงอัตราเงินเฟ้อและการกำหนดอัตราผลตอบแทนขั้นต่ำที่กำหนดไว้ในแต่ละโครงการ อัตราส่วนลดเงินสด หมายถึงเปอร์เซนต์ที่ลดค่าของเงินแต่ละปีเทียบจากเงิน 1 บาท ค่าปัจจัยหรือตัวคูณส่วนลด (Discount, PVIF , PVIFA factor) ตารางA 416-417: Present value of $ 1 : PIVFใช้เมื่อต้องการหาค่าปัจจุบันของเงินที่ได้รับครั้งเดียว หรือได้รับจำนวนที่ไม่เท่ากันในแต่ละปี ตาราง B 418-419: Present value of $ 1 Received Annually for N year : PIVFAใช้เมื่อต้องการหาค่าปัจจุบันของเงินสะสมที่ได้รับจำนวนเท่ากันในแต่ละปี การประเมินค่าโครงการภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอน โดยไม่คำนึงถึงค่าเงิน ทำได้2 วิธี 1 วิธีตอบแทนถั่วเฉลี่ย(AAR : Average Rate of Return method) อัตราตอบแทนถั่วเฉลี่ย = กำไรเฉลี่ยสุทธิต่อไป / เงินลงทุนเฉลี่ย (พิจารณาจากอัตราถั่วเฉลี่ยสูงสุด สูงกว่าอัตราที่ตั้งเป้าไว้) 2 วิธีวิธีระยะเวลาคืนทุน(PB : Payback Period Method)หรือ งวดระยะเวลาคืนทุนเป็นการคำนวณระยะเวลาที่โครงการจะได้รับกระแสเงินสดสุทธิเท่ากับเงินลงทุนพอดี มี 2 กรณี (พิจาณาจากโครงการที่มีระยะเวลาในการคืนทุนสั้นที่สุดเร็วกว่าวงดระยะคืนทุนที่กิจการกำหนดไว้) 2.1 กระแสเงินสดทที่ได้รับจากการคืนทุนเท่ากันทุกปี  ระยะเวลาคืนทุน = เงินลงทุน / กระแสเงินสดรับสุทธิรายปี 2.2 กระแสเงินสดที่ได้รับจากโครงการลงทุนแต่ละปีไม่เท่ากัน การประเมินค่าโครงการภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอน โดยคำนึงถึงค่าเงิน ทำได้3 วิธี 1 วิธีค่าปัจจุบันสุทธิ NPV ค่าปัจจุบันสุทธิ = ค่าปัจจุบันของผลรวมตอบแทน- จำนวนเงินลงทุนสุทธิ (ดูว่ามีค่าเป็นบวก, สูงที่สุด หรือมากกว่าที่ตั้งเป้า) 2 วิธีอัตราผลตอบแทนจากโครงการ Internal Rate of Return IRRหรือเรียนว่าวิธีอัตราส่วนลดเงินสด หรือ วิธีอัตราผลตอบแทนภายในโครงการ อัตราผลตอบแทนจากโครงการ คือ อัตราที่ผลรวมค่าปัจจุบันสุทธิของกระแสเงินสดรับจากการลงทุนทุกปี = ค่าปัจจุบันของเงินลงทุนสุทธิ เงินลงทุนสุทธิ = ค่าปัจจุบันของผลตอบแทนเงินสด = ผลตอบแทนเงินสดต่อปี x ตัวคูณส่วนลดเงินสด ตัวคูณส่วนลดเงินสด = เงินลงทุนสุทธิ / ผลตอบแทนเงินสดต่อปี (ใช้ผลตอบแทนที่ได้สูงที่สุด และหรือได้อัตราตอบแทนมากกว่าที่ตั้วไว้) 3 วิธีดัชนีแสดงความสามารถในการทำกำไร  ดัชนีกำไร = ผลรวมของค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับของโครงการลงทุนทุกปี / เงินลงทุน (เลือกที่มีดัชนีกำไรPI Profitable Indexมากกว่า 1 และมากที่สุด) การประเมินค่าโครงการภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน พิจารณาจากโครงการเดียว กระแสเงินสดที่รับจากการโครงการแต่ล่ะงวดเป็นอิสระต่อกันทำได้3 วิธี 1 วิธีแขนงการตัดสินใจโดยอาศัยผังความสัมพันธ์ระหว่างทางเลือกที่เป็นค่าปัจจุบันในการตัดสินใจและประเมินค่าในแต่ล่ะทางเลือก 2 วิธีอัตราส่วนปรับลดความเสี่ยง ควรใช้อัตราส่วนลดที่สูงกว่าโครงการลงทุนที่มีอัตราเสี่ยงต่ำ k = I + Risk Premium 3 วิธีเทียบเท่าความแน่นอน  ค่าปัจจุบันสุทธิ = ค่าปัจจุบันที่เทียบเท่าความแน่นอนของผลตอยแทนโครงการ – จำนวนเงินลงทุนของโครงการ NPV net present value method = กระแสเงินสดสุทธิภายใต้สภาวะที่แน่นอนในปีที่ t / กระแสเงินสดสุทธิภายใต้สภาวะที่ไม่แน่นอนในปีที่ t

  6. ข้อควรพิจารณาในการวิเคราะห์การลงทุนข้อควรพิจารณาในการวิเคราะห์การลงทุน 1 ผลลัพท์ที่ได้จากการวิเคราะห์โครงการลงทุนที่ต่างกัน 1.1ข้อจำกัดในเงินลงทุนที่กิจการมีอยู่ 1.2 ความแตกต่างของขนาดการลงทุน 1.3 ความแตกต่างของอายุกโครงการลงทุน 2 การเปรียบเทียบระหว่างผลตอบแทนกับสภาพคล่องโครงการลงทุน 3 ปัจจัยอื่นๆที่มีผลกระทบในการดำเนินงานลงทุนเช่น แนวโน้มการขยาย ตัวสภาวะการณ์ปัจจุบันทางเศษฐกิจ ภาพพจน์และชื่อเสียงของการดำเนินงาน ข้อควรพิจารณาในการวิเคราะห์โครงการที่มีทุนจำกัด 1 ลักษณะของโครงการลงทุน 2 อัตราผลตอบแทนขั้นต่ำที่ยอมรับได้หรือตังเป้าหมายไว้ 3 จำนวนเงินลงทุนที่กิจการมีอยู่เพื่อใช้ลงทุนในแต่ละปี 4 อัตราส่วนลดหรือัตราดอกเบี้ย หรือต้นทุนของเงินทุน 5 ความเสี่ยงทางการเงินและความเสี่ยงต่างๆ 6 เทคนิคหรือเกณฑ์ที่นำมาใช้ในการพิจรณาเลือก 7 ปัจจัยเชิงคุณภาพต่างๆ โดยมักจะใช้ ดัชนีแสดงความสามารถในการทำกำไร หรือยอดรวมของค่าปัจจุบันสุทธิของโครงการลงทุนที่สูงที่สุด การวิเคราะห์โครงการลงทุนในกรณีที่ขนาดโครงการต่างกัน โดยใช้ อัตราผลตอบแทนต่อหน่วยสุดท้าย Marginal Rate of Return MRR คือ อัตราตอบแทนที่ได้รับเพิ่มขึ้นจากการลงทุนเพิ่มขึ้นในแต่ละโครงการลงทุน ให้พิจารณาค่าอัตราผลตอบแทนต่อหน่วยสุดท้ายที่น้อยที่สุด แต่มีค่ามากกว่าอัตราผลตอบแทนข้นต่ำที่ได้ตั้งไว้ การวิเคราะห์โครงการลงทุนในกรณีที่อายุโครงการต่างกัน โดยใช้ กระแสเงินสดจ่ายรายปีที่เท่ากัน Equipment Annual Cost : EAC คือ EAC = ค่าปัจจุบันรวมของกระแสเงินสดจ่าย / ค่าตัวคูรส่วนลดของค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่าย ให้พิจารณาค่าEACที่น้อยที่สุด เพราะถือว่ากิจการจ่ายเงินลงทุนสุทธิของโครงการต่ำที่สุด

More Related