1 / 4

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดระนอง ชุมพร และสุราษฎร์ธานี จากการจัดอาชีวศึกษา

 อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้  อุตสาหกรรมยางและพลาสติก. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดระนอง ชุมพร และสุราษฎร์ธานี จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้. เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น.

joy-reed
Download Presentation

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดระนอง ชุมพร และสุราษฎร์ธานี จากการจัดอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้  อุตสาหกรรมยางและพลาสติก อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดระนอง ชุมพร และสุราษฎร์ธานี จากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) •  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน •  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  2. จังหวัดระนอง สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 98 แห่ง (สปช. 89 แห่ง และ สศ. 9แห่ง) สังกัด เอกชน 12 แห่ง สังกัด กศน. 5 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 3 แห่ง 1. วท.ระนอง 2. วษท.ระนอง 3. วก.กระบุรี • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันตก เขตติดต่อกับประเทศสหภาพพม่า และ • มหาสมุทรอินเดีย • มีความสำคัญในฐานะเป็นเมืองดีบุก • เป็นเมืองชายแดน และศูนย์รวมของการไปมา • หาสู่และซื้อขายสินค้าระหว่างไทยกับพม่า • (ด่านชายแดนระนอง) • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 71,643 บาท ต่อปี • (ลำดับที่ 9 ของภาค ลำดับที่ 28 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 41.42 % รองลงมาสาขาการขายส่ง • การขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 15.05 % • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • ซาลาเปาทับหลี มะม่วงหิมพานต์ • ประชากร • จำนวนประชากร 178,122 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 12,539 คน หรือ 11.92 % • จำนวนผู้ว่างงาน 1,324คน เป็นชาย 743 คน เป็นหญิง 581 คน อัตราการว่างงาน 0.70 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 31,765 คนหรือ 32.7% ลำดับรองลงมาคืออาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 17,584 คน หรือ 18.09% และพนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด14,025คน หรือ 14.43 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) เพาะเห็ดฟางจากทะลายปาล์ม 2) ทำซาลาเปา 3) ทำไม้กวาดดอกอ้อ • 4) เลี้ยงปลาน้ำจืด 5) เพาะชำต้นไม้ 6) แปรรูปน้ำพริกปูแสม • 7) เพาะเห็ดด้วยขี้เลื่อย 8) ผ้าบาติก 9) เย็บจากมุงหลังคา 10) กะปิกุ้ง (ที่มา อศจ.ระนอง) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 32,648 คน หรือ 33.6% ทำงานส่วนตัว 32,077 คน หรือ 33% ช่วยธุรกิจครัวเรือน15,255 คน หรือ 15.7% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 5,534 คน หรือ 5.7 % โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 67,021 คน หรือ 68.94% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 3,189 คน หรือ 3.3% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 65 แห่ง มีการจ้างงาน 3,346 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  3. จังหวัดชุมพร สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 293 แห่ง (สปช. 268 แห่ง และ สศ. 25 แห่ง) สังกัด เอกชน 32 แห่ง สังกัด กศน. 9 แห่ง สังกัด สกอ. – แห่ง สาธิต 2 แห่ง สังกัด สอศ. 6 แห่ง 1. วท.ชุมพร 2. วษท.ชุมพร 3. วป.ชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ 4. วช.ชุมพร 5. วก.หลังสวน 6. วก.ท่าแซะ ) • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันออก เขตติดต่อกับทะเลอ่าวไทย • มีลักษะเป็นที่ราบลุ่มตามแนวชายฝั่งทะเลอ่าวไทย • ทิศตะวันตก เขตติดต่อกับประเทศสหภาพพม่า • เป็นประตูสู่ภาคใต้ • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 73,463 บาท ต่อปี • (ลำดับที่ 8 ของภาค ลำดับ 24 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 44.87 % สาขาการขายส่ง การ • ขายปลีก 12.45 % • พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด • มะพร้าว ยางพารา กาแฟ ปาล์มน้ำมัน ไม้ผล • และการประมง • ประชากร • จำนวนประชากร 475,763 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 36,045 คน หรือ 11.57 % • จำนวนผู้ว่างงาน 3,736คน เป็นชาย 787 คน เป็นหญิง 2,949 คน อัตราการว่างงาน • 1.33 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 137,544 คนหรือ 49.68% ลำดับรองลงมาคือพนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด 42,648 คน หรือ 15.40% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ซ่อมรถจักรยานยนต์ 2) ธุรกิจรับซื้อยางพารา 3) งานสีและตัวถังรถยนต์ • 4) ซ่อมรถยนต์ 5) ผลิตปุ๋ยชีวภาพ 6) ธุรกิจร้านอาหาร • 7) แปรรูปผลไม้และจัดทำบรรจุภัณฑ์ 8) เพาะเลี้ยงพันธุ์กุ้งปลา • 9) ธุรกิจลานรับซื้อปาล์ม 10) แปรรูปกล้วยเล็บมือนาง (ที่มา อศจ.ชุมพร) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 106,711 คน หรือ 38.55% ลำดับรองลงมา ธุรกิจครัวเรือน 72,479 คน หรือ 26.18% และลูกจ้างเอกชน 66,506 คน หรือ 24.02 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 1,540 คน หรือ 0.6 % โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา197,131 คน หรือ 71.2% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 15,198 คน หรือ 5.5 % สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 96 แห่ง มีการจ้างงาน 4,396 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  4. จังหวัดสุราษฎร์ธานี สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 566 แห่ง (สปช. 518 แห่ง และ สศ. 48 แห่ง) สังกัด เอกชน 107 แห่ง สังกัด กศน. 19 แห่ง สังกัด สกอ. 2 แห่ง สังกัด สอศ. 7 แห่ง 1. วท.สุราษฎร์ธานี 2. วท.สุราษฎร์ธานีแห่งที่ 2 3. วอศ.สุราษฎร์ธานี 4. วษท.สุราษฎร์ธานี 5. วช.สุราษฎร์ธานี 6. วก.ไชยา 7. วก.เวียงสระ • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • มีพื้นที่มากที่สุดของภาคใต้ และมากเป็นอันดับ 6 • ของประเทศไทย • ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกทางภาคใต้ของ • ประเทศด้านทะเลอ่าวไทย • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 97,936 บาท ต่อปี (ลำดับ 3 • ของภาค ลำดับ 16 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 34.51 % รองลงมาสาขาการผลิต • อุตสาหกรรม 19.68% • อาชีพที่สำคัญของจังหวัด • สวนยางพารา ผลไม้ การประมงทะเล • ประชากร • จำนวนประชากร 947,349 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 75,314 คน หรือ 12.61 % • จำนวนผู้ว่างงาน 7,341คน เป็นชาย 3,432คน เป็นหญิง 3,909คน อัตราการว่างงาน 0.7% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 262,845 คนหรือ 47.1% ลำดับรองลงมาคือ อาชีพพนักงานบริการ พนักงานในร้านค้าและตลาด 90,649 คน หรือ 16.2% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ทำสวนยาง 2) ทำสวนปาล์ม 3) ทำสวนผลไม้ 4) พนักงานบริการ/ท่องเที่ยว • 5) ช่างซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 6) ช่างซ่อมเครื่องยนต์ • 7) ช่างเสริมสวย 8) ธุรกิจค้าปลีกยางแผ่น เศษยาง 9) ธุรกิจค้าปลีกผลไม้ • 10) การทำปุ๋ยน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมักชีวภาพ (ที่มา อศจ.สุราษฎร์ธานี) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 189,799 คน หรือ 34.% รองลงมาทำงานส่วนตัว 177,083 คน หรือ 31.66 % ช่วยธุรกิจครัวเรือน 122,551 หรือ 22 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง10,319 คน หรือ 1.83 % โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 386,905 คน หรือ 68.76% • เป็นที่น่าสังเกตว่าแรงงานอาชีวะมีเพียง 17,792 คน หรือ 3.2 % สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ มีสถานประกอบการ 140 แห่ง มีการจ้างงาน 6,978 คน รองลงมาอุตสาหกรรมการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 116 แห่ง มีการจ้างงาน 6,853 คน และอุตสาหกรรมยางและพลาสติก มีสถานประกอบการ 65 แห่ง มีการจ้างงาน 5,343 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

More Related