1 / 33

Principles of Communications Chapter 2 Signal and System

Principles of Communications Chapter 2 Signal and System. Assist. Prof. Tharadol Komolmis Department of Electrical Engineering, Faculty of Engineering, Chiang Mai University. ลักษณะสัญญาณ. ลักษณะสัญญาณ สัญญาณแอนะลอก ( Analog signal) สัญญาณดิจิตอล ( Digital signal)

jonny
Download Presentation

Principles of Communications Chapter 2 Signal and System

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Principles of CommunicationsChapter 2 Signal and System Assist. Prof. TharadolKomolmis Department of Electrical Engineering, Faculty of Engineering, Chiang Mai University

  2. ลักษณะสัญญาณ • ลักษณะสัญญาณ • สัญญาณแอนะลอก (Analog signal) • สัญญาณดิจิตอล (Digital signal) • สัญญาณรบกวน (Noise) • ลักษณะสัญญาณแบ่งตามคาบ • สัญญาณรายคาบ (Periodic signal) • สัญญาณที่ไม่เป็นรายคาบ (Non-periodic signal) 252342 Chapter_2

  3. ลักษณะสัญญาณ v(t) t สัญญาณแอนะลอก v(t) t สัญญาณดิจิตอล v(t) t สัญญาณแรนดัม 252342 Chapter_2

  4. v(t) T=2p/w A Acosf t f/w สัญญาณและการวิเคราะห์ • สัญญาณรูปแบบซายน์ v(t)=Acos(2ft+f) 252342 Chapter_2

  5. สัญญาณและการวิเคราะห์สัญญาณและการวิเคราะห์ • การวิเคราะห์สัญญาณทางเวลา • ค่าเฉลี่ยและกำลังเฉลี่ยของสัญญาณ • รากที่สองของค่ากำลังสองเฉลี่ย (ค่า rms) • การวิเคราะห์ทางความถี่ (วิเคราะห์สเปกตรัม) • อนุกรมฟูเรียร์และการวิเคราะห์สัญญาณรายคาบ • สัญญาณรูปแบบซายน์ กับอนุกรมฟูเรียร์ • Parseval'spower theorem • การแปลงฟูเรียร์และการวิเคราะห์สัญญาณที่ไม่เป็นรายคาบ • สัญญาณพลังงานและการแปลงฟูเรียร์ • Rayleigh's energy theorem • คุณสมบัติและทฤษฎีบทที่สำคัญบางประการของการแปลงฟูเรียร์ 252342 Chapter_2

  6. สัญญาณและการวิเคราะห์สัญญาณและการวิเคราะห์ • การวิเคราะห์สัญญาณทางเวลา ค่าเฉลี่ย = ? ค่าเฉลี่ยของสัญญาณคือองค์ประกอบกระแสตรง (DC) 252342 Chapter_2

  7. สัญญาณและการวิเคราะห์สัญญาณและการวิเคราะห์ • การวิเคราะห์สัญญาณทางเวลา กำลังเฉลี่ย = ? กำลังสองของค่าเฉลี่ย=กำลังขององค์ประกอบ DC ตกคร่อมตัวต้านทาน 1 โอห์ม ค่ากำลังสองเฉลี่ย=กำลังเฉลี่ยทั้งหมดของสัญญาณ ตกคร่อมตัวต้านทาน 1 โอห์ม 252342 Chapter_2

  8. สัญญาณและการวิเคราะห์สัญญาณและการวิเคราะห์ • ค่าเฉลี่ยของสัญญาณคือองค์ประกอบกระแสตรง (DC) • กำลังสองของค่าเฉลี่ย=กำลังขององค์ประกอบ DC ตกคร่อมตัวต้านทาน 1 โอห์ม • ค่ากำลังสองเฉลี่ย=กำลังเฉลี่ยทั้งหมดของสัญญาณ ตกคร่อมตัวต้านทาน 1 โอห์ม • รากที่สองของค่ากำลังสองเฉลี่ยคือค่า rms ค่า rmsมีความสำคัญอย่างไร ? 252342 Chapter_2

  9. สัญญาณและการวิเคราะห์สเปกตรัมสัญญาณและการวิเคราะห์สเปกตรัม • สัญญาณรูปแบบซายน์และเส้นสเปกตรัม 2cos25t 4cos2t cos24t t 4cos2t+cos24t+2cos25t f -5 -4 -3 -2 -1 1 2 3 4 5 252342 Chapter_2

  10. สัญญาณและการวิเคราะห์สเปกตรัมสัญญาณและการวิเคราะห์สเปกตรัม • ขบวนพัลส์สี่เหลี่ยม ความกว้าง คาบ T0 • เส้นสเปกตรัมของสัญญาณขบวนพัลส์สี่เหลี่ยม (ก) ขนาด (ข) เฟส 252342 Chapter_2

  11. สัญญาณและการวิเคราะห์สเปกตรัมสัญญาณและการวิเคราะห์สเปกตรัม • สัญญาณพัลส์สี่เหลี่ยมที่สร้างจากอนุกรมฟูเรียร์ • (ก) ผลรวมสามเทอม (ข) ผลรวมถึงเทอมที่ 7 252342 Chapter_2

  12. สัญญาณและการวิเคราะห์สเปกตรัมสัญญาณและการวิเคราะห์สเปกตรัม • พัลส์สี่เหลี่ยมความกว้าง  สูง A • สเปกตรัมต่อเนื่องของพัลส์สี่เหลี่ยมV(f) = A sinc(f) 252342 Chapter_2

  13. ระบบเชิงเส้น • ระบบเชิงเส้นและการวิเคราะห์สัญญาณ • การวิเคราะห์ระบบเชิงเส้นในเชิงเวลา • ผลตอบสนองอิมพัลส์ (Impulse response) :h(t) • การวิเคราะห์ระบบเชิงเส้นในเชิงความถี่ • ฟังก์ชันการถ่ายโอน (Transfer function) :H(f) ระบบ สัญญาณขาออก y(t) สัญญาณขาเข้า x(t) 252342 Chapter_2

  14. ระบบเชิงเส้น • ความสัมพันธ์ระหว่างค่าเข้ากับค่าออกในเชิงเวลาและความถี่ • X(f)=F{x(t)} • Y(f)=F{y(t)} ระบบ h(t) H(f) สัญญาณขาออก y(t)=h*x(t) Y(f)=H(f)X(f) สัญญาณขาเข้า x(t) X(f) 252342 Chapter_2

  15. ระบบเชิงเส้น • การผิดเพี้ยนของสัญญาณจากการส่งผ่านระบบเชิงเส้น • การผิดเพี้ยนเชิงขนาด(Amplitude distortion) เกิดขึ้นจากการตอบสนองต่อสัญญาณแต่ละความถี่ไม่เท่ากัน |H(f)|  |K| • การผิดเพี้ยนเชิงเวลาหน่วงเกิดจาก(Delay distortion) Distortion 252342 Chapter_2

  16. Equalizer Channel Hc(f) Heq(f) y(t) x(t) ระบบเชิงเส้น • ช่องสัญญาณในระบบสื่อสารถูกพิจารณาว่าเป็นระบบเชิงเส้น • สัญญาณเมื่อผ่านช่องสัญญาณจึงอาจเกิดการผิดเพี้ยนได้ • การแก้ไข วิธีการหนึ่งคือใช้วงจรอีควอไลเซอร์ (Equalizer) 252342 Chapter_2

  17. ระบบเชิงเส้น • ระบบเชิงเส้นที่มีความสำคัญในระบบสื่อสารคือ • วงจรกรอง (Filter) • Low-pass Filter • High-pass Filter • Band pass Filter • Band reject Filter • Notch Filter 252342 Chapter_2

  18. นิยาม • สเปกตรัม (Spectrum) = ช่วงของความถี่ [fmin, fmax] • แถบกว้างความถี่,แบนด์วิด (Bandwidth;BW) =fmax-fmin • แบนด์วิดของสัญญาณ :ความแตกต่างระหว่างองค์ประกอบความถี่สูงสุดและความถี่ต่ำสุดที่มีในสัญญาณนั้น • แบนด์วิดของช่องสัญญาณ :ความแตกต่างระหว่างความถี่สูงสุดและความถี่ต่ำสุดที่สามารถผ่านช่องสัญญาณนั้นได้ • ตัวอย่าง • สัญญาณ A มี Spectrum [100,120], Bandwidth=120-100=20 [Hz], สัญญาณ B มี Spectrum [20,40],Bandwidth=40-20=20 [Hz] • Effective bandwidth = แถบความถี่ที่มีพลังงานส่วนใหญ่ของสัญญาณ • Half-power Bandwidth (3dB-Bandwidth) • แถบกว้างความถี่ของระบบจากความถี่ที่ตอบสนองสัญญาณสูงสุดถึงความถี่ที่กำลังลดลงครึ่งหนึ่ง • หรือจากความถี่ที่ขนาดสูงสุดถึงความถี่ที่ขนาดลดลงเหลือ 0.707 เท่า • Baseband= แถบความถี่ของสัญญาณที่มีสเปกตรัมความถี่ต่ำรอบๆ ความถี่ศูนย์ 252342 Chapter_2

  19. นิยาม • หน่วยเดซิเบล(Decibel)= 10log(อัตราส่วนกำลัง) • Power Gain • กำลังเทียบกับ 1 W 0 dBW = 1W • กำลังเทียบกับ 1mW 0 dBm = 1 mW • Voltage Gain (Ro=Ri) • แรงดันเทียบกับ 1 V 0 dBV =1 V • แรงดันเทียบกับ 1 mV 0 dBmV = 1 mV 252342 Chapter_2

  20. คอร์รีเลชันของสัญญาณและความหนาแน่นสเปกตรัมคอร์รีเลชันของสัญญาณและความหนาแน่นสเปกตรัม • คอร์รีเลชันของสัญญาณที่มีกำลังจำกัด • คอร์รีเลชันของสัญญาณที่มีพลังงานจำกัด • ความสัมพันธ์ระหว่างออโตคอร์รีเลชันกับความหนาแน่นสเปกตรัม 252342 Chapter_2

  21. สัญญาณแรนดัมและสัญญาณรบกวนสัญญาณแรนดัมและสัญญาณรบกวน • กระบวนการแรนดัม (Random processes) • กรณีกระบวนการแบบ ergodicจะได้ 1. ค่าเฉลี่ย หรือ mean, E[V] จะเท่ากับระดับ DC ของสัญญาณ 2. กำลังสองของค่าเฉลี่ย,(E[V])2เท่ากับกำลังขององค์ประกอบ DC ตกคร่อมตัวต้านทาน 1 โอห์ม 3. ค่ากำลังสองเฉลี่ย E[V2] = กำลังเฉลี่ยทั้งหมดของสัญญาณ v(t) ตกคร่อมตัวต้านทาน 1 โอห์ม 4. รากที่สองของค่ากำลังสองเฉลี่ยคือค่า rms 5. ค่าแวเรียนซ์ = กำลังเฉลี่ยในส่วนที่แปรตามเวลา (AC component) ตกคร่อมตัวต้านทาน 1 โอห์ม 6. ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นค่า rmsของ AC component ของสัญญาณ 7. ถ้า E[V]=0 , เป็นค่า rmsของสัญญาณ 252342 Chapter_2

  22. สัญญาณรบกวน (Noise) • สัญญาณรบกวนขาว (White noise) • ความหนาแน่นสเปกตรัมคงที่ทุกความถี่ (มีองค์ประกอบความถี่ทุกความถี่ • กำลังของสัญญาณรบกวน ขึ้นกับแบนด์วิดของระบบ • ค่ากำลังสองเฉลี่ยของสัญญาณรบกวน ขึ้นอยู่กับความต้านทานของระบบ 252342 Chapter_2

  23. สัญญาณรบกวน (Noise) • สัญญาณรบกวนความร้อน (Thermal Noise) • ความร้อนในตัวอุปกรณ์ก่อให้เกิดสัญญาณรบกวน • วงจรสมมูลของตัวต้านทานที่มีสัญญาณรบกวน เสมือนว่ามีแหล่งกำเนิด 252342 Chapter_2

  24. สัญญาณรบกวน (Noise) • การส่งผ่านสัญญาณในระบบที่มีสัญญาณรบกวน การส่งผ่านสัญญาณรบกวนความร้อนผ่านระบบเชิงเส้น (ก) แบบจำลองของระบบ (ข) แบบจำลองสมมูลเมื่อรวมสัญญาณรบกวน 252342 Chapter_2

  25. สัญญาณรบกวน (Noise) • แบนด์วิดสมมูลของสัญญาณรบกวน (Equivalent noise bandwidth) 252342 Chapter_2

  26. สัญญาณรบกวน (Noise) • อุณหภูมิสัญญาณรบกวน (Noise temperature) • Te :Equivalent Noise Temperature • Signal-to-Noise Ratio : SNR • อัตราส่วนกำลังของสัญญาณต่อกำลังของสัญญาณรบกวน • บอกคุณภาพของสัญญาณว่ามีสัญญาณรบกวนปนอยู่เท่าไร • น้อยส์แฟคเตอร์ (Noise factor),น้อยส์ฟิกเกอร์ (Noise figure) • นิยามเป็นอัตราส่วน SNR ขาเข้าต่อ SNR ขาออก • บอกคุณภาพของระบบว่าเพิ่มสัญญาณรบกวนให้แก่สัญญาณที่ผ่านระบบ 252342 Chapter_2

  27. สัญญาณรบกวน (Noise) • น้อยส์แฟคเตอร์ (Noise factor :F) • น้อยส์ฟิกเกอร์ (Noise figure :NF) • น้อยส์แฟคเตอร์ในหน่วย dB 252342 Chapter_2

  28. สัญญาณรบกวน (Noise) • กรณีที่ระบบต่อเรียง (Cascade) หาค่าน้อยส์แฟคเตอร์รวม • F เป็นค่าน้อยส์แฟคเตอร์รวม • F1,F2,F3,F4… เป็นค่าน้อยส์แฟคเตอร์ของระบบที่ 1, 2, 3, 4… ตามลำดับ • ถ้าบอกค่าน้อยส์ฟิกเกอร์ในหน่วย dB ต้องแปลงเป็นน้อยส์แฟคเตอร์หน่วยจำนวนเท่าก่อน • กรณีของระบบที่มีการลดทอนเช่นสายนำสัญญาณ น้อยส์แฟคเตอร์จะเท่ากับอัตราขยายของระบบ • G1,G2,G3,G4… เป็นอัตราขยายของระบบที่ 1, 2, 3, 4… ตามลำดับ • ถ้าระบบที่มีการลดทอนอัตราขยายเท่ากับ 1/G 252342 Chapter_2

  29. สัญญาณรบกวน (Noise) • ตัวอย่าง ระบบขยายสัญญาณหนึ่งประกอบด้วยเครื่องขยายต่อเรียงกัน 3 ตัว โดยวงจรขยายแต่ละตัวมีอัตราขยายและน้อยส์ฟิกเกอร์ ดังนี้ ABC • อัตราขยาย (dB)10 15 20 • น้อยส์ฟิกเกอร์(dB)5 4 3 สมมุติให้อิมพีแดนซ์ขาเข้าและขาออกของเครื่องขยายแต่ละตัวเท่ากัน จงหาค่าน้อยฟิกเกอร์รวมของระบบ ก. เมื่อนำเครื่องขยายมาต่อเรียงกัน(Cascade) ตามลำดับ A B C ข. เมื่อนำเครื่องขยายมาต่อเรียงกัน(Cascade) ตามลำดับ C B A 252342 Chapter_2

  30. สัญญาณรบกวน (Noise) • วิธีทำ กำหนดสัญลักษณ์ แปลงค่าอัตราขยายเป็นจำนวนเท่า และเปลี่ยนน้อยส์ฟิกเกอร์เป็นน้อยส์แฟคเตอร์ (หน่วยจำนวนเท่า) A B C • อัตราขยาย (จำนวนเท่า)GA =10 GB=31.623 GC=100 • น้อยส์แฟคเตอร์(จำนวนเท่า)FA=3.1623 FB=2.5119 FC=1.9953 252342 Chapter_2

  31. สัญญาณรบกวน (Noise) ก. น้อยส์แฟกเตอร์รวมของระบบ น้อยฟิกเกอร์รวมของระบบNF=5.207 dB B C A 252342 Chapter_2

  32. สัญญาณรบกวน (Noise) ข. น้อยแฟกเตอร์รวมของระบบ น้อยฟิกเกอร์รวมของระบบNF=3.034 dB B A C 252342 Chapter_2

  33. สัญญาณรบกวน (Noise) • QUIZ ระบบสื่อสารหนึ่งต้องการส่งสัญญาณขนาด 70 dBuVจากต้นทางไปยังปลายทางด้วยระยะทาง 50 เมตร ด้วยสายนำสัญญาณที่มีอัตราการลดทอน 20 dB/100m โดยเครื่องรับปลายทางมีน้อยฟิกเกอร์15 dB • หาขนาดสัญญาณปลายทางและน้อยฟิกเกอร์รวมของระบบ • ต่อเครื่องขยายที่มีอัตราขยาย 30 dB น้อยฟิกเกอร์8dB ก่อนเข้าเครื่องรับ หาขนาดสัญญาณปลายทางและน้อยฟิกเกอร์รวมของระบบ • ต่อเครื่องขยายที่มีอัตราขยาย 30 dB น้อยฟิกเกอร์8dB ที่ต้นทาง หาขนาดสัญญาณปลายทางและน้อยฟิกเกอร์รวมของระบบ สมมุติให้อิมพีแดนซ์ขาเข้าและขาออกของเครื่องขยายเท่ากับสายนำสัญญาณและเครื่องรับ 252342 Chapter_2

More Related