1 / 44

แนวทาง การประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ

แนวทาง การประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ. โดย สมชาย ศักดาเวคีอิศร ผู้อำนวยการสำนักประเมินผลและเผยแพร่การพัฒนา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันพฤหัสบดีที่ 24 กรกฎาคม 2551 ณ โรงแรม ปรินซ์ พาเลซ กรุงเทพมหานคร.

joan-gross
Download Presentation

แนวทาง การประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐแนวทางการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ โดย สมชาย ศักดาเวคีอิศร ผู้อำนวยการสำนักประเมินผลและเผยแพร่การพัฒนา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันพฤหัสบดีที่ 24 กรกฎาคม 2551 ณ โรงแรม ปรินซ์ พาเลซ กรุงเทพมหานคร

  2. เจตนารมณ์ของการประเมินความคุ้มค่าฯตามมาตรา 22 ของ พรฏ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

  3. “ให้ สศช. และ สงป. ร่วมกันจัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่ เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรี สำหรับเป็นแนวทางในการพิจารณาว่าภารกิจใดสมควรจะได้ดำเนินการต่อไป หรือยุบเลิก และเพื่อประโยชน์ในการจัดตั้งงบประมาณของส่วนราชการในปีต่อไป....”

  4. การประเมินความคุ้มค่า : การประเมินการดำเนินภารกิจของภาครัฐเพื่อให้ได้ผลผลิตผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพมีประโยชน์ที่สมดุลกับทรัพยากรที่ใช้ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งผลสำเร็จ และผลกระทบทางลบ ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน

  5. ประเมินว่าการปฏิบัติภารกิจมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อประชาชน/ภาครัฐ มากหรือน้อยกว่าค่าใช้จ่ายและผลเสียที่เกิดขึ้นเพียงใด วัตถุประสงค์ เป็นข้อมูลสำหรับส่วนราชการในการทบทวนจัดลำดับความสำคัญในการเลือกปฏิบัติภารกิจ หรือเป็นข้อมูลสำหรับรัฐบาลเพื่อพิจารณายุบเลิกภารกิจ รวมทั้งปรับปรุงวิธีการปฏิบัติภารกิจ เป็นแนวทางในการพิจารณาจัดตั้งงบประมาณของส่วนราชการในปีต่อไป วัตถุประสงค์

  6. ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ผลกระทบ กรอบการประเมินความคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความสอดคล้องในการใช้ทรัพยากร / กระบวนการทำงาน / ผลิตภาพ ผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติภารกิจ ตามที่คาดหมายและไม่ คาดหมาย

  7. Performance Audit - INTOSAI’s Model Commitment Purpose defined Output Services provided Outcome Objective met Input Resources assigned Action/ Production Action done ประสิทธิผล ความสำเร็จในการตอบสนองต่อจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนด ประหยัด ทำให้ค่าใช้จ่ายในการใช้ปัจจัยนำเข้าลดลง ประสิทธิภาพ ผลิตสินค้าหรือบริการให้ได้มากที่สุดจากทรัพยากรเท่าที่มีอยู่อย่างจำกัด ที่มา : INTOSAI, Implementation Guidelines for Performance Auditing: Standards and guidelines for performance auditing based on INTOSAI’s auditing standards and practical experience, p.14. (อ้างอิงโดยสถาบันนโยบายและการจัดการ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : ที่ปรึกษาโครงการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐและการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ)

  8. ความเชื่อมโยงระหว่างการประเมินการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกับการประเมินความคุ้มค่าความเชื่อมโยงระหว่างการประเมินการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกับการประเมินความคุ้มค่า ประเมินความคุ้มค่า การจัดทำคำรับรองฯ (กพร) เป้าประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ยุทธศาสตร์ กลุ่มภารกิจ 1 • ต้นทุนต่อหน่วย • Cost-effectiveness • ผลประโยชน์ของภารกิจ • -อัตราส่วนต้นทุนค่าใช้จ่าย • -NPV • -IRR • -ผลกระทบอื่น ๆ ที่ประเมิน เป็นมูลค่าไม่ได้ กระทรวง ผลลัพธ์ เป้าประสงค์ ผลผลิต ยุทธศาสตร์ กลุ่มภารกิจ2 ประเมินความเหมาะสมของ งาน/โครงการ ก่อนดำเนินการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุณภาพ การพัฒนาองค์กร(Balanced Scorecard) สำนักงานปลัดกระทรวงฯ ผลลัพธ์ เป้าประสงค์ ผลผลิต ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ยุทธศาสตร์ สำนักงาน ก. การประเมินความคุ้มค่า:ดำเนินการทั้งก่อนและหลังการปฏิบัติภารกิจ โดยใช้ตัวชี้วัดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ตามคำรับรองฯ (กพร.) บวกกับตัวชี้วัดผลลัพธ์/ผลกระทบและตัวชี้วัดเพิ่มเติม

  9. ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่าขอบเขตการประเมินความคุ้มค่า หน่วยการประเมิน ภารกิจที่ต้องประเมิน ภารกิจหลัก/งานหลัก ๏ บริการสาธารณะ ๏ บริการด้านการพัฒนา/ ความมั่นคง หน่วยงาน ระดับกระทรวง • สำนักงานปลัดกระทรวง • กรมโยธาธิการและผังเมือง • กรมการปกครอง • กรมการพัฒนาชุมชน • กรมที่ดิน • กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย • กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ผลผลิตหลัก โครงการที่สำคัญต่อภารกิจ

  10. ตัวชี้วัดการประเมินความคุ้มค่าตัวชี้วัดการประเมินความคุ้มค่า ตัวชี้วัดเพิ่มเติม ตัวชี้วัดหลัก ภารกิจ บริการสาธารณะ (ประชาชนได้ประโยชน์โดยตรง) ประสิทธิภาพ ๏ต้นทุนต่อหน่วย ๏ สัดส่วนผลผลิตต่อทรัพยากร ๏ สัดส่วนค่าใช้จ่ายจริงต่อค่าใช้จ่ายตามแผน ประสิทธิผลของค่าใช้จ่าย (Cost-Effectiveness) ประสิทธิผล ๏ความสำเร็จในการบรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย ๏ ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ประโยชน์ ๏ คุณภาพการให้บริการ บริการด้านการพัฒนาและความมั่นคง (ประชาชนได้ประโยชน์โดยอ้อม) ผลกระทบ๏ต่อประชาชน ๏ ต่อเศรษฐกิจ ๏ ต่อสังคม ๏ ต่อสิ่งแวดล้อม ผลสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ ๏ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้ งบประมาณ (PART) ประเมินทั้ง 4 ประเด็น Benefit-Cost Ratio ภารกิจที่เป็นโครงการ

  11. แผนการดำเนินงาน • ขยายผล3 กระทรวงนำร่อง • มหาดไทย • อุตสาหกรรม • สาธารณสุข • วางกรอบแนวทาง • จัดทำรายละเอียดแนวทางการประเมินความคุ้มค่าฯ • เสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ 18 ตุลาคม 2548 ทุกกระทรวงเริ่มดำเนินการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจ ทดลองประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของ สศช. 2550-51 2547-48 2552 2549

  12. การดำเนินงานของ สศช. ในปีงบประมาณ 2550 สศช. ดำเนินโครงการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐและการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ โดยวิธีจ้าง ที่ปรึกษา (คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ) ดำเนินการระหว่าง 10 เดือน (26 กรกฎาคม 2550 – 25 พฤษภาคม 2551)

  13. สาระสำคัญของโครงการฯ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อริเริ่มให้เกิดการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจและการจัดทำรายงานในหน่วยงานนำร่อง เพื่อทดสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติในการประเมินความคุ้มค่าในหน่วยงานภาครัฐ 2. เพื่อปรับปรุงแนวทางการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ ซึ่งรวมถึงหลักเกณฑ์ตัวชี้วัด เอกสารคู่มือ แบบรายงาน เพื่อให้ส่วนราชการสามารถนำไปใช้ในทางปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 3. เพื่อวางกรอบแนวทางการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ ที่ครอบคลุมการดำเนินงานของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและองค์กรมหาชน สำหรับใช้เป็นแนวทางจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะในระยะต่อไป 4. เพื่อให้คำปรึกษาแนะนำการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะในปีงบประมาณ 2549 ที่ดำเนินการโดย สศช.

  14. ขอบเขตการดำเนินงาน • สร้างความรู้ความเข้าใจแก่หน่วยงานนำร่องในเรื่องกรอบความคิดการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ หลักเกณฑ์ ตัวชี้วัด วิธีการประเมิน และการจัดทำรายงาน 2. เป็นที่ปรึกษาหน่วยงานนำร่องระดับกระทรวง 3 กระทรวง ในการประเมินความคุ้มค่าด้วยตัวเองตามแนวทางที่กำหนด รวมทั้งการวิเคราะห์ผลและการจัดทำรายงาน 3. พัฒนาและปรับปรุงคู่มือและแบบรายงานเพื่อใช้ในการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานภาครัฐ โดยให้มีรูปแบบที่หลากหลายตามลักษณะภารกิจของหน่วยงานภาครัฐ 4. จัดทำแนวทางการปรับปรุงแนวทางการประเมินความคุ้มค่า และแนวทางการขยายผล

  15. ขอบเขตการดำเนินงาน (ต่อ) 5. ศึกษาพัฒนากรอบแนวทางการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะระดับ กรม กระทรวง และระดับประเทศ ที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน และครอบคลุมทั้งการดำเนินงานของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรมหาชน สำหรับใช้เป็นแนวทางจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะในระยะต่อไป 6. ให้คำปรึกษาแนะนำการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะในปีงบประมาณ 2549 ที่ดำเนินการโดย สศช.

  16. หลักเกณฑ์การพิจารณาหน่วยงานนำร่องหลักเกณฑ์การพิจารณาหน่วยงานนำร่อง 1. เป็นตัวอย่างเทียบเคียง สำหรับหน่วยงานอื่นได้ 2. ความพร้อมของข้อมูล และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ลักษณะงานประเมินด้วยตัวชี้วัดได้อย่างชัดเจน 4. ความสมัครใจของหน่วยงาน การเรียนเชิญหน่วยงานระดับกระทรวงเป็นหน่วยนำร่อง กลุ่มเศรษฐกิจ กลุ่มสังคม กลุ่มบริหารฯ ก.มหาดไทย ก.สาธารณสุข ก.อุตสาหกรรม

  17. กรอบการดำเนินงานในเบื้องต้นกรอบการดำเนินงานในเบื้องต้น เป็นการประเมินในภาพรวม โดยเลือกประเมินเฉพาะภารกิจหลัก และเลือกเฉพาะงาน/โครงการสำคัญ :- ครอบคลุมผลผลิตและโครงการตามเอกสารงบประมาณที่เป็นภารกิจหลักมีสัดส่วนประมาณ 80% (20% จะเป็นงานสนับสนุน) ครอบคลุมการดำเนินงานของทุกกรมในกระทรวง ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค (ไม่รวมรัฐวิสาหกิจ ) 26 กรม ใน 3 กระทรวง ประเมินภารกิจในปี 2550 และย้อนหลังในปี 2549 เพื่อเปรียบเทียบระหว่างปี หา Benchmark ได้

  18. การเตรียมกลไกและข้อมูลของหน่วยงานนำร่องการเตรียมกลไกและข้อมูลของหน่วยงานนำร่อง เตรียมกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตั้งคณะทำงานในระดับกระทรวง ประกอบด้วยผู้แทนจากทุกกรม พร้อมทั้งกำหนดผู้ประสานงานอย่างชัดเจน เพื่อขับเคลื่อนการประเมินความคุ้มค่า • จัดตั้งกลไก 2 ระดับ คือ ระดับนโยบาย และระดับปฏิบัติงาน มีผู้แทนจากทุกกรม และหน่วยที่ดูแลต้นทุนผลผลิต • มอบหมายหน่วยงานที่จะเป็นแกนหลักประสานงาน และรวบรวมข้อมูล เตรียมข้อมูลเบื้องต้นที่จำเป็นต่อการประเมิน ภายใต้การประเมินความคุ้มค่าที่ครอบคลุมมิติประสิทธิผล มิติประสิทธิภาพ มิติผลกระทบ มีข้อมูลเบื้องต้นที่จำเป็นต้องใช้เพื่อการวางกรอบแนวทาง อาทิ พ.ร.บ. และ พ.ร.ฎ. ที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงและกรม / แผนกลยุทธ์ของกระทรวงและกรม / แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / ผังโครงสร้างการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ / การวิเคราะห์ SWOT ของกระทรวงและกรม / ตัวชี้วัดผลลัพธ์ระดับผลผลิตของกรม และปริมาณงานของกรม / ผังเชื่อมโยงผลลัพธ์สู่ผลผลิต กิจกรรม งบประมาณของกรม / รายงานตามแบบ สงป. 301

  19. ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมเป็นหน่วยงานนำร่องประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมเป็นหน่วยงานนำร่อง สามารถเตรียมความพร้อมเป็นการล่วงหน้าให้กับหน่วยงาน ให้พร้อมรับกับทิศทางการบริหารจัดการและระบบการประเมินภาครัฐในระยะต่อไป ที่ให้ความสำคัญกับ “ผลสำเร็จ” “ผลประโยชน์” ที่เกิดจากการดำเนินงานโดยเปรียบเทียบกับปัจจัยที่ใช้ ซึ่งทุกหน่วยงานต้องทราบถึงผลและความคุ้มค่าของการดำเนินงานที่ชัดเจน ผู้บริหารได้รับทราบผลการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงาน สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเอง เพื่อประโยชน์ในการจัดลำดับความสำคัญของการเลือกปฏิบัติภารกิจ และปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลยิ่งขึ้น รวมทั้งประโยชน์ในการจัดทำงบประมาณของหน่วยงานในปีต่อไป สร้างโอกาสและกระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริงให้กับเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถดำเนินการประเมิน ความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานด้วยตนเอง ภายใต้การมีที่ปรึกษา ซึ่งมีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญมาช่วยในการวางกรอบแนวทางและพัฒนาองค์ความรู้เชิงเทคนิควิธีการให้

  20. ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมเป็นหน่วยงานนำร่องประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมเป็นหน่วยงานนำร่อง สามารถเตรียมความพร้อมเป็นการล่วงหน้าให้กับหน่วยงาน ให้พร้อมรับกับทิศทางการบริหารจัดการและระบบการประเมินภาครัฐในระยะต่อไป ที่ให้ความสำคัญกับ “ผลสำเร็จ” “ผลประโยชน์” ที่เกิดจากการดำเนินงานโดยเปรียบเทียบกับปัจจัยที่ใช้ ซึ่งทุกหน่วยงานต้องทราบถึงผลและความคุ้มค่าของการดำเนินงานที่ชัดเจน ผู้บริหารได้รับทราบผลการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงาน สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเอง เพื่อประโยชน์ในการจัดลำดับความสำคัญของการเลือกปฏิบัติภารกิจ และปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลยิ่งขึ้น รวมทั้งประโยชน์ในการจัดทำงบประมาณของหน่วยงานในปีต่อไป สร้างโอกาสและกระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริงให้กับเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถดำเนินการประเมิน ความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานด้วยตนเอง ภายใต้การมีที่ปรึกษา ซึ่งมีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญมาช่วยในการวางกรอบแนวทางและพัฒนาองค์ความรู้เชิงเทคนิควิธีการให้

  21. จากประสบการณ์ของหน่วยงานนำร่องจากประสบการณ์ของหน่วยงานนำร่อง ในการประเมินความคุ้มค่า เตรียมข้อมูลที่จำเป็นต่อการประเมินความคุ้มค่า 1. เป้าหมายการให้บริการกระทรวง/เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน 2. ความเชื่อมโยง(ความสัมพันธ์)ระหว่างเป้าหมายการให้บริการกระทรวง กับเป้าหมายการให้บริการของหน่วยงาน 3. ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิตระดับกรม 4. ร่วมกันกำหนด/ปรับปรุง/พัฒนาตัวชี้วัดในระดับต่าง ๆ 5. ผู้มีส่วนร่วมรับผิดชอบ - ในการบรรลุเป้าหมายกระทรวง/หน่วยงาน - การจัดเก็บข้อมูล - การจัดทำตัวชี้วัด 6. การมีอยู่ของข้อมูล ความสมบูรณ์ สถานะของข้อมูล แนวทางในการ จัดเก็บ การปรับปรุง

  22. ทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้างทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้าง ตัวอย่างผลผลิตที่รับผิดชอบ หน่วยดำเนินงาน 1. อำนวยการและสนับสนุนการบริหาร ราชการความมั่นคงของรัฐ 2. มาตรฐานและระบบการบริหารงาน บุคคลส่วนท้องถิ่น 3. การบริหารราชการส่วนกลางและ จังหวัดมีการบริหารจัดการที่ทันสมัย 1. สำนักงานปลัดกระทรวง ยุทธศาสตร์กระทรวง กลยุทธ์ของกรม • 1. การแก้ไขปัญหาความยากจนระดับอำเภอ • 2. ประชาชนได้รับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข • 3. การเสริมสร้างและปลูกฝังวิถีชีวิตของ • ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย • การบริหารจัดการระดับอำเภอในการสร้าง • สมดุลการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ • ทรัพยากรธรรมชาติ • เสริมสร้างความมั่นคงและการพัฒนา • จังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. กรมการปกครอง

  23. ทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้างทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้าง ตัวอย่างผลผลิตที่รับผิดชอบ หน่วยดำเนินงาน 1. ข้อมูลพื้นฐานชุมชนที่ได้รับการพัฒนาเป็น สารสนเทศชุมชนเพื่อการจัดการชุมชน 2. ชุมชนที่ได้รับการเพิ่มขีดความสามารถ ในการจัดการและแก้ไขปัญหาความยากจน 3. กลุ่มและครัวเรือนยากจนที่ได้รับการพัฒนา องค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อยกระดับ รายได้ 3. กรมการพัฒนาชุมชน ยุทธศาสตร์กระทรวง กลยุทธ์ของกรม • 1. ที่ดินของรัฐที่จัดให้แก่ประชาชนที่ยากจน • 2. โฉนดที่ดินที่ออกให้แก่ประชาชน • 3. จำนวนแปลงที่ดินที่ได้รับการเดินสำรวจ • เตรียมการออกโฉนดที่ดิน • ที่ดินของรัฐที่ได้รับการบริหารจัดการ • งานด้านทะเบียนและรังวัดที่ดินที่บริการให้แก่ • ประชาชน 4. กรมที่ดิน

  24. ทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้างทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้าง ตัวอย่างผลผลิตที่รับผิดชอบ หน่วยดำเนินงาน 1. ชุมชนได้รับการพัฒนาและมีความพร้อมด้าน การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2. ประชาชนได้รับการซ้อมแผนและช่วยเหลือ บรรเทา ฟื้นฟูสาธารณภัย 5. กรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย ยุทธศาสตร์กระทรวง กลยุทธ์ของกรม • 1. งานด้านช่างที่ให้บริการ • 2. มาตรการกำกับดูแลความปลอดภัยในชีวิต • และทรัพย์สินเกี่ยวกับอาคารและการใช้ • ประโยชน์ที่ดินจากการบังคับใช้ • 3. ระบบป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ชุมชนที่จัดทำ • 4. ผังเมืองที่จัดทำ • ที่ดินที่ได้รับการจัดรูปฯ เพื่อพัฒนาพื้นที่ • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการ • สนับสนุนและเสริมสร้างด้านการผังเมือง 6. กรมโยธาธิการและ ผังเมือง

  25. ทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้างทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้าง ตัวอย่างผลผลิตที่รับผิดชอบ หน่วยดำเนินงาน • อปท. มีประสิทธิภาพในการบริหารและจัดบริการสาธารณะ 7. กรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น ยุทธศาสตร์กระทรวง กลยุทธ์ของกรม

  26. บทเรียนหน่วยงานนำร่องบทเรียนหน่วยงานนำร่อง

  27. ภาพรวมหน่วยงาน ผลการปฏิบัติราชการ อื่นๆ การเงิน การจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะรายปี

  28. การส่งเสริมประชาธิปไตย และ กระบวนการประชาสังคม จัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะเป็นรายปี ในทุกระดับของหน่วยงาน เพื่อใช้ประเมินผลภาพรวมของประเทศ 1. รายงานประจำปีของหน่วยงาน (Annual Report) 2. รายงานประจำปีของประเทศ (National Annual Report) แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 รายงานของรัฐต่อสาธารณะรายปี กลยุทธ์หลัก 7.1.4

  29. วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร ร า ย ง า น เพื่อรายงานผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของแผนปฏิบัติราชการประจำปี รวมทั้งรายงานด้านการเงินของหน่วยงานให้สาธารณะได้รับทราบ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในบทบาท ภารกิจ และการดำเนินงานของส่วนราชการ อันจะนำไปสู่การมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาประเทศ หรือการนำไปใช้ประโยชน์ของสาธารณชน เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบในการจัดทำรายงานการประเมินผลภาพรวมการพัฒนาประเทศรายปี (National Annual Report) ในระยะต่อไป แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ทำ ร า ย ง า น

  30. 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน ส่วนที่ 4 เรื่องอื่นๆ ส่วนที่ องค์ประกอบรายงานประจำปีของหน่วยงาน

  31. 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน ส่วนที่ วิสัยทัศน์ ได้แก่ จุดหมายปลายทาง ที่หน่วยงานต้องไปให้ถึง พันธกิจ/ภารกิจ ได้แก่ การแสดงขอบเขตบทบาทของหน่วยงานที่ต้องทำ ตามหน้าที่รับผิดชอบต่อสังคมอย่างมีบูรณาการ ประกอบด้วย การกิจตามกฎหมาย และ ภารกิจหลักที่ได้รับมอบหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่ จุดเน้น หรือเรื่องที่มีความสำคัญ ซึ่งหน่วยงานเลือกที่จะดำเนินการเพื่อให้บรรลุพันธกิจของหน่วยงาน เป้าประสงค์ได้แก่ สิ่งที่หน่วยงานต้องการจะบรรลุผลตามประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ได้แก่ แนวทาง วิธีการ มาตรการ ที่จะนำไปสู่การบรรลุผลตามเป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ ข้อมูลพื้นฐานของหน่วยงาน งบประมาณรายจ่ายประจำปีที่ประกาศเป็น พ.ร.บ.รายจ่ายประจำปีและงบ ประมาณราย จ่ายเพิ่มเติม แยกตามหมวดงบประมาณและยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน โครงสร้างองค์กรแสดงแผนผังโครงสร้างองค์กรในปัจจุบัน อัตรากำลังแสดงจำนวนเจ้าหน้าที่แยกตามระดับ โดยอาจเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา แผนกลยุทธ์/แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน

  32. 2 ส่วนที่ ผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ปัญหา อุปสรรค เงื่อนไขความสำเร็จ ผลผลิต ข้อเสนอแนะ ผลลัพธ์ หมายถึง ผลการดำเนิน งานของกิจกรรมภายใต้กลยุทธ์ของหน่วยงาน หมายถึง ผลอันสืบเนื่องจากการปฏิบัติภารกิจ ทั้งที่คาดหมายและไม่ได้คาดหมาย เสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา ทั้งในระดับหน่วยงาน ระดับกระทรวง หรือระดับนโยบาย ของการดำเนิน งาน ทั้งที่ได้ดำ เนินการไปแล้ว หรือระหว่างดำเนินงาน ผลการปฏิบัติราชการภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจำปี ของหน่วยงาน ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการที่สอดคล้องกับผลผลิตตาม พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีและแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ผลการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงาน

  33. 3 ส่วนที่ รายงานการเงิน งบการเงิน งบแสดงฐานะการเงิน ประกอบด้วย สินทรัพย์ หนี้สิน และสินทรัพย์สุทธิ งบรายได้และค่าใช้จ่าย แสดงรายได้ที่เกิดจากการดำเนินงาน รายการที่ไม่เกิดจากการดำเนินงาน รายการพิเศษ และรายการที่เกี่ยวกับรายได้แผ่นดิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน แสดงข้อมูลเพิ่มเติมจากรายการในงบการเงิน ต้นทุนผลผลิตและกิจกรรม การวิเคราะห์งบการเงิน แสดงต้นทุนผลผลิตและกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง (คำนวณขึ้นตามหนังสือสั่งการเรื่องหลักเกณฑ์การคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง) แสดงการวิเคราะห์ • ต้นทุนรวมผลผลิตตามเอกสารงบประมาณ • ต้นทุนกิจกรรมหลักตามเอกสารงบประมาณ • ต้นทุนผลผลิตย่อยและต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อยเปรียบเทียบ 2 ปีงบประมาณ การย่อส่วนตามแนวดิ่ง การวิเคราะห์ตามแนวนอน

  34. 4 เรื่องอื่นๆ ส่วนที่ เป็นการรายงานเพิ่มเติมในเรื่องที่หน่วยงานพิจารณาแล้วเห็นสมควรที่จะรายงานเพิ่มเติมต่อสาธารณชน อาทิ ภารกิจพิเศษที่ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรี หรือภารกิจที่ได้ดำเนินการเพื่อให้บรรลุความคาดหวังและความพึงพอใจของสาธารณชน เป็นต้น

  35. องค์ประกอบรายงานประจำปีของประเทศองค์ประกอบรายงานประจำปีของประเทศ กระทรวง ส่วนที่ 2 : ภาพรวมผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์  ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ  ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี ส่วนที่ 1 : ภาพรวมนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ รายงานสรุปภาพรวมนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ รายงาน ประจำปี ของหน่วยงาน ส่วนที่ 3 : รายงานการเงิน  รายงานการเงินแผ่นดิน  ต้นทุนผลผลิต  การวิเคราะห์งบการเงิน ส่วนที่ 4: เรื่องอื่นๆ

  36. กรอบระยะเวลาจัดทำรายงานกรอบระยะเวลาจัดทำรายงาน ภายในสิ้นเดือนกุมภาพันธ์ ภายในสิ้นเดือนมีนาคม ภายในสิ้นเดือนมกราคม สศช./ กรมบัญชีกลาง กระทรวง กรม ประมวลสังเคราะห์รายงานของกรมเป็นระดับกระทรวง นำเสนอ ครม.เพื่อทราบ พร้อมส่งสำเนารายงานกระทรวงให้ สศช. กรมบัญชีกลาง สังเคาะห์รายงานระดับกระทรวง จัดทำเป็นรายงานภาพรวมของประเทศ และนำเสนอครม. จัดทำรายงานระดับกรมส่งกระทรวง และเผยแพร่ต่อสาธารณะ

  37. แผนการดำเนินงาน ดำเนินการในหน่วยงานนำร่อง ปี 2551 ปรับปรุงการจัดทำรายงาน ปี 2552 จัดทำรายงานประจำปีของประเทศ ปี 2553

  38. www.nesdb.go.th Somchai-s@nesdb.go.th

More Related