1 / 8

จั งหวัดปทุมธานี

เกษตร 2.2%. นอกเกษตร97.8%. จั งหวัดปทุมธานี. พื้นที่ 1,525.86 ตร.กม. หรือ 955,535 ไร่ 7 อำเภอ 60 ตำบล 531 หมู่บ้าน 1 ทบน. 9 ทบม. 17 ทบต. 37 อบต. ประชากร 998,812 คน 464,687 ครัวเรือน ส.ส. 6 คน.

Download Presentation

จั งหวัดปทุมธานี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เกษตร 2.2% นอกเกษตร97.8% จังหวัดปทุมธานี • พื้นที่ 1,525.86ตร.กม. หรือ 955,535 ไร่ • 7 อำเภอ 60 ตำบล 531 หมู่บ้าน • 1 ทบน. 9 ทบม. 17 ทบต. 37 อบต. • ประชากร 998,812 คน 464,687 ครัวเรือน • ส.ส. 6 คน ที่มา : สนง.ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด /ที่ทำการปกครองจังหวัด • สัดส่วนโครงสร้างการผลิตของจังหวัดปทุมธานี • GPP จังหวัด 248,128 ล้านบาท (ปี 2552)** • รายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรม ไฟฟ้า จักรกล โลหะ • รายได้เฉลี่ยต่อหัว 302,226 บาท (ปี 2552)** ที่มา : สนง.คลังจังหวัดปทุมธานี

  2. ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน ทำให้จังหวัดถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน - ตะวันตก อ.ลาดหลุมแก้ว บางส่วนของ อ.สามโคก และเมือง - ตะวันออก อ.คลองหลวง อ.หนองเสือ อ.ธัญบุรี อ.ลำลูกกา และบางส่วนของ อ.สามโคก และเมือง ส่วนใหญ่เป็นดินเหนียวจัด เป็นกรดปานกลางถึงกรดจัด ระบายน้ำไม่ดี แบ่งเป็น ดินนาไม่เป็นกรด 30 % และ ดินนาเป็นกรดจัด 70% ลักษณะดิน • ที่สำคัญ ได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยา (30 กม.) , คลองรังสิตประยูรศักดิ์, คลองระพีพัฒน์, คลองระบายน้ำ 1-14 และคลองพระอุดม • รับน้ำจากเขื่อนเจ้าพระยา จังหวัดชัยนาทและแม่น้ำป่าสักส่วนหนึ่งที่เขื่อนพระราม 6 จ.สระบุรีเพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร แหล่งน้ำ

  3. เกษตรกร 22,285 ครัวเรือน ข้อมูลด้านการเกษตร พื้นที่ทั้งจังหวัด955,535 ไร่ พื้นที่เขตชลประทาน763,000 ไร่ (79.85 %) พื้นที่การเกษตร 472,180 ไร่ (49.41 %) • ข้าว (นาปี/นาปรัง) 369,317 ไร่ • ไม้ผลไม้ยืนต้น 30,471 ไร่ • พืชผัก 21,427 ไร่ • ไม้ดอกไม้ประดับ 5,828 ไร่ • พืชไร่ 2,199 ไร่ • พืชพลังงาน 911 ไร่ • พืชสมุนไพร 610 ไร่ • เห็ด 36 ไร่ ที่มา : ข้อมูลการเกษตรระดับจังหวัด ปี 2553/54 สนง.เกษตรจังหวัดปทุมธานี / โครงการชลประทานปทุมธานี

  4. สถาบันเกษตรกร • นิติบุคคล รวม 121 แห่ง สมาชิก 100,420 ราย ที่มา : สนง.สหกรณ์จังหวัด (ม.ค. 55) • ไม่เป็นนิติบุคคล รวม 478 แห่ง สมาชิก 7,506 ราย ที่มา : สนง.เกษตรจังหวัด (ก.พ. 55)

  5. หญ้าแผ่น ข้าว ถั่วฝักยาว กล้วยน้ำว้า มะม่วง ผลผลิตการเกษตรที่สำคัญ (ข้อมูล GPP ปี 2552) ด้านพืช • พื้นที่เพาะปลูก 659,344 ไร่ • (2 ครั้ง/ปี) • มูลค่าเพิ่ม 2,212 ล้านบาท • ปลูกมากที่ อ.ลำลูกกา • พื้นที่เพาะปลูก 46,674 ไร่ (9 ครั้ง/ปี) • มูลค่าเพิ่ม 329 ล้านบาท • ปลูกมากที่ อ.ลำลูกกา • พื้นที่เพาะปลูก 42,360 ไร่ • (3 ครั้ง/ปี) • มูลค่าเพิ่ม 310 ล้านบาท • ปลูกมากที่ อ.หนองเสือ • พื้นที่เพาะปลูก 19,274 ไร่ • มูลค่าเพิ่ม 178 ล้านบาท • ปลูกมากที่ อ.ลาดหลุมแก้ว • พื้นที่เพาะปลูก 14,246 ไร่ • มูลค่าเพิ่ม 199 ล้านบาท • ปลูกมากที่ อ.หนองเสือ ที่มา : ข้อมูล GPP ปี 2552 (ก.ย. 54) สนง.เกษตรจังหวัดปทุมธานี

  6. โค กระบือ ไข่เป็ด สุกรขุน ไก่พื้นเมือง ผลผลิตการเกษตรที่สำคัญ (ข้อมูล GPP ปี 2552) ด้าน ปศุสัตว์ • มูลค่าเพิ่ม 418 ล้านบาท • เลี้ยงมากที่ อ.หนองเสือ • มูลค่าเพิ่ม 86 ล้านบาท • เลี้ยงมากที่ อ.คลองหลวง • มูลค่าเพิ่ม 72 ล้านบาท • ผลผลิตมากที่ อ.ลาดหลุมแก้ว • มูลค่าเพิ่ม 21 ล้านบาท • เลี้ยงมากที่ อ.คลองหลวง • มูลค่าเพิ่ม 14. ล้านบาท • เลี้ยงมากที่ อ.คลองหลวง ที่มา : ข้อมูล GPP ปี 2552 (ก.ย. 54) สนง.ปศุสัตว์จังหวัดปทุมธานี

  7. ปลาตะเพียน กุ้งขาว ปลานิล ผลผลิตการเกษตรที่สำคัญ (ข้อมูล GPP ปี 2552) ด้าน ประมง ปลาดุก มูลค่าเพิ่ม 95.35 ล้านบาท ผลผลิตมากที่สุด อ.ลำลูกกา ปลาสวาย มูลค่าเพิ่ม 75.46 ล้านบาท ผลผลิตมากที่สุด อ.หนองเสือ มูลค่าเพิ่ม 36 ล้านบาท ผลผลิตมากที่สุด อ.ลำลูกกา มูลค่าเพิ่ม 27.33 ล้านบาท ผลผลิตมากที่สุด อ.ลำลูกกา มูลค่าเพิ่ม 26.16 ล้านบาท ผลผลิตมากที่สุดที่ อ.คลองหลวง ที่มา : ข้อมูล GPP ปี 2552 (ก.ย. 54) สนง.ประมงจังหวัดปทุมธานี

More Related