1 / 27

อมรา พงศาพิชญ์ (ปรับปรุงจาก William L. Ury: The Third Side)

การค้นหาฝ่ายที่สาม ในการแก้ความขัดแย้ง. อมรา พงศาพิชญ์ (ปรับปรุงจาก William L. Ury: The Third Side). ข้อท้าทาย. ปรับเปลี่ยนความขัดแย้งสู่กิจกรรมสร้างสรรค์ได้อย่างไร ?. ความขัดแย้ง สอง ฝ่าย. ฝ่าย 1. ฝ่าย 2. ระดับของความขัดแย้ง. ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ ระหว่างกลุ่ม ชนชั้น อาชีพ

Download Presentation

อมรา พงศาพิชญ์ (ปรับปรุงจาก William L. Ury: The Third Side)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การค้นหาฝ่ายที่สามในการแก้ความขัดแย้งการค้นหาฝ่ายที่สามในการแก้ความขัดแย้ง อมรา พงศาพิชญ์ (ปรับปรุงจาก William L. Ury: The Third Side)

  2. ข้อท้าทาย ปรับเปลี่ยนความขัดแย้งสู่กิจกรรมสร้างสรรค์ได้อย่างไร ?

  3. ความขัดแย้ง สอง ฝ่าย ฝ่าย 1 ฝ่าย 2

  4. ระดับของความขัดแย้ง • ระหว่างประเทศ • ภายในประเทศ • ระหว่างกลุ่ม ชนชั้น อาชีพ • ระดับพื้นที่ • ระดับชุมชน • ระดับบุคคล

  5. กรณีความขัดแย้งภายใน • ภายในประเทศ ระดับพื้นที่ ระดับชุมชน ระดับบุคคล ระหว่างกลุ่ม ชนชั้น อาชีพ ฯลฯ

  6. ใครสร้างความแตกแยก ?(DIVIDER) • เหตุการณ์ • บุคคล • นโยบาย • ฯ ล ฯ

  7. ใครมีแนวโน้มในการประสานรอยร้าว ?(CONNECTOR) • เหตุการณ์ • บุคคล • นโยบาย • ฯ ล ฯ

  8. จุดเริ่มต้นอยู่ที่ไหน ? • อาจเริ่มที่บุคคล • สร้างกิจกรรม • กำหนดนโยบาย

  9. ฝ่ายที่สามในความขัดแย้งฝ่ายที่สามในความขัดแย้ง ฝ่าย 3 ฝ่าย 1 ฝ่าย 2

  10. ใครคือ ฝ่ายที่สาม บุคคลนอกฝ่าย เช่น เพื่อนบ้าน ฝ่าย 1 ฝ่าย 2 บุคคลในฝ่าย เช่น สมาชิกในครอบครัวหรือเพื่อน

  11. คนในอาจเป็นฝ่ายที่สามได้คนในอาจเป็นฝ่ายที่สามได้ บุคคลนอกฝ่าย ฝ่าย 1 ฝ่าย 2 บุคคลในฝ่าย

  12. ปัจจัยสำคัญในการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง 1สมาชิกในชุมชนพร้อม ชุมชนตื่นตัว 2ปรับกระบวนทัศน์ในการทำงาน 3เข้าใจสถานการณ์ความขัดแย้งและเน้นที่การ ดำเนินงานอย่างเป็นขั้นตอน

  13. 1. สมาชิกในชุมชนตื่นตัว ทุกคนพร้อมที่จะเป็นฝ่ายที่สาม

  14. 2. ปรับกระบวนทัศน์ จาก การต่อสู้คือสิ่งที่เลี่ยงไม่ได้ เป็น การต่อสู้สามารถป้องกันได้ และมีทางออก

  15. 3. เข้าใจสถานการณ์ ตามระดับของความขัดแย้ง • ระดับที่หนึ่ง: สะสมความตึงเครียด บ่มเพาะความขัดแย้ง • ระดับที่สอง: ความขัดแย้งปรากฎ • ระดับที่สาม: ช่วงชิงอำนาจเพื่อเอาชนะ • ระดับที่สี่: ความขัดแย้งรุนแรง

  16. ขั้นตอนการดำเนินงาน ระดับ 1: ป้องกันความขัดแย้ง ระดับ 2: หาทางออกที่เหมาะสมเพื่อยุติความขัดแย้ง ระดับ 3: ลดระดับความรุนแรงไม่ให้เพิ่มขึ้น

  17. ระดับของความขัดแย้งและการดำเนินการระดับของความขัดแย้งและการดำเนินการ

  18. ระดับความรุนแรงของความขัดแย้งระดับความรุนแรงของความขัดแย้ง ความขัดแย้งรุนแรง ระดับ 3 การช่วงชิงอำนาจเพื่อเอาชนะ ระดับ 2 ความขัดแย้งปรากฏ ระดับ 1 สะสมความตึงเครียด บ่มเพาะความขัดแย้ง

  19. ความต้องการไม่ได้รับการตอบสนอง ขาดทักษะทางอาชีพ ความสัมพันธ์อ่อนแอ ระดับ 1 : สาเหตุของความตึงเครียด ความขัดแย้งรุนแรง ระดับ 3 ช่วงชิงอำนาจเพื่อเอาชนะ ระดับ 2 ความขัดแย้งปรากฏ ระดับ 1 สะสมความตึงเครียด บ่มเพาะความขัดแย้ง

  20. ความขัดแย้งรุนแรง การช่วงชิงอำนาจเพื่อเอาชนะ ผลประโยชน์ขัดกัน ช่วงชิงเพื่อครอบครองสิทธิ อำนาจที่ไม่เท่าเทียมกัน ความสัมพันธ์ไม่ดี ความขัดแย้งปรากฏ สะสมความตึงเครียด บ่มเพาะความขัดแย้ง ระดับ 2 : สาเหตุที่ความขัดแย้งปรากฏ

  21. ความขัดแย้งรุนแรง ขาดสำนึกรู้เรื่องความรุนแรง ไม่มีกฎกติกา ไม่มีขอบเขต ขาดการคุ้มครอง ช่วงชิงอำนาจเพื่อเอาชนะ ความขัดแย้งปรากฏ สะสมความตึงเครียด บ่มเพาะความขัดแย้ง ระดับ 3 : สาเหตุที่ช่วงชิงอำนาจและต้องการเอาชนะ

  22. รักษาระดับไม่ให้เพิ่มขึ้นรักษาระดับไม่ให้เพิ่มขึ้น การช่วงชิงอำนาจ ความขัดแย้งปรากฏ บ่มเพาะความขัดแย้ง ยุติความขัดแย้ง ป้องกันความขัดแย้ง การป้องกันไม่ให้เพิ่มความรุนแรง ความขัดแย้งรุนแรง

  23. ระดับ 1 : ป้องกันไม่ให้ความตึงเครียดกลายเป็นความขัดแย้ง สาเหตุของความตึงเครียด วิธีป้องกัน ความต้องการไม่ได้รับการตอบสนอง หาผู้ให้บริการ หาผู้ให้ความรู้ ขาดทักษะด้านอาชีพ หาผู้เชื่อมความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์อ่อนแอ

  24. ระดับ 2 : หาข้อยุติเมื่อความขัดแย้งปรากฏขึ้น สาเหตุของความขัดแย้ง วิธียุติความขัดแย้ง ผลประโยชน์ขัดกัน ผู้ไกล่เกลี่ยผลประโยชน์ ช่วงชิงสิทธิ์ ผู้ตัดสินชี้ขาด ผู้เพิ่มแต้มต่อแก่ผู้ด้อยอำนาจ อำนาจไม่เท่าเทียมกัน ความสัมพันธ์ไม่ดี ผู้เยียวยาความสัมพันธ์

  25. ระดับ 3 : ลดระดับความขัดแย้งไม่ให้รุนแรงขึ้น การช่วงชิงอำนาจเพื่อเอาชนะ การลดระดับไม่ให้เพิ่มความรุนแรง ขาดการตระหนักถึงภัยอันตราย หาผู้ตระหนักเห็นภัยอันตรายและสามารถเตือนสังคม ขาดกฎกติกา ไม่มีขอบเขต หาผู้กำหนดกฎกติกา/ขอบเขต - เพื่อป้องกันอันตราย หาผู้รักษาสันติภาพ ให้ความคุ้มครอง ขาดการคุ้มครอง

  26. สรุป —บทบาทฝ่ายที่สาม 3 ระดับ ผู้เตือนให้ระงับความรุนแรง ผู้กำหนดกฎกติกา ผู้รักษาสันติภาพ ลดระดับความรุนแรง ผู้ไกล่เกลี่ยผลประโยชน์ ผู้ตัดสินชี้ขาด ผู้ให้แต้มต่อ ผู้เยียวยาความสัมพันธ์ ยุติความขัดแย้ง ผู้ให้บริการ ผู้ฝึกทักษะ ผู้เชื่อมความสัมพันธ์ ป้องกันความขัดแย้ง

  27. สรุป • วิเคราะห์ปัญหาระดับชุมชน • หาสาเหตุและแนวทางแก้ไข • หาบุคคลที่สามตามบทบาทที่ต้องการ • ไม่ได้จำกัดเฉพาะบทบาทที่กล่าวมา

More Related