1 / 59

พบกันวันนี้

พบกันวันนี้. “ การบริหารงานพัสดุ และการเบิกจ่าย ”. เนื้อหา. ระเบียบพัสดุ 2535 ระเบียบพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ 2549 e-GP GFMIS. ข้อตกลงร่วมกัน. เนื้อหา ประสบการณ์. การบริหารงานพัสดุ. สำนักงานคลังจังหวัดแพร่ 12 มีนาคม 2556. ระบบการเงินการคลังของหน่วยงาน. พัสดุ. งบประมาณ.

Download Presentation

พบกันวันนี้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พบกันวันนี้ “การบริหารงานพัสดุ และการเบิกจ่าย”

  2. เนื้อหา • ระเบียบพัสดุ 2535 • ระเบียบพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ 2549 • e-GP • GFMIS

  3. ข้อตกลงร่วมกัน เนื้อหา ประสบการณ์

  4. การบริหารงานพัสดุ สำนักงานคลังจังหวัดแพร่ 12 มีนาคม 2556

  5. ระบบการเงินการคลังของหน่วยงานระบบการเงินการคลังของหน่วยงาน พัสดุ งบประมาณ บัญชี การเงิน

  6. หลักการบริหารพัสดุ

  7. ระเบียบพัสดุ 2535ข้อ 13 หลังจากได้รับทราบยอดเงินที่จะนำมาใช้ในการจัดหาแล้ว ให้ สรก.รีบดำเนินการให้เป็นไปตามแผนและขั้นตอนตามระเบียบนี้ ในส่วนที่ 2 ส่วนที่ 3 หรือส่วนที่ 4 แล้วแต่กรณี เพื่อให้พร้อมที่จะทำสัญญาได้ทันทีเมื่อได้รับอนุมัติทางการเงินแล้ว

  8. การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ แบ่งออกเป็น 5 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5

  9. การจ้างออกแบบและควบคุมงานการจ้างออกแบบและควบคุมงาน ประเภทของการจัดหา การเช่า การแลกเปลี่ยน การจ้างที่ปรึกษา การจ้าง การซื้อ การจัดทำเอง การจ้าง การซื้อ การจัดทำเอง

  10. การซื้อ การซื้อทุกชนิดที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการอื่นที่เกี่ยวเนื่อง การซื้อโดยระบุยี่ห้อสินค้าได้หรือไม่? ตามมติ ครม. และหนังสือที่ สร 0203/ว 52 ลว 28 มีนาคม 2520 กำหนดห้ามมิให้ส่วนราชการระบุยี่ห้อสินค้าที่จะซื้อ หรือกำหนดคุณลักษณะเฉพาะให้ใกล้เคียงยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง เว้นแต่ เป็นพัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งานหรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการเฉพาะตามระเบียบฯ ข้อ 23 (6) ดังนั้น ในกรณีจำเป็นต้องระบุยี่ห้อ ต้องใช้วิธีพิเศษจะใช้สอบราคาหรือประกวดราคามิได้

  11. การจ้าง การจ้างทำของ และการรับขนตาม ปพพ. การจ้างเหมาบริการ แต่ไม่รวมถึงการจ้างลูกจ้างของส่วนราชการ การรับขนในการเดินทางไปราชการ การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน และการจ้างแรงงาน

  12. ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ ราคาค่าก่อสร้างในงานก่อสร้างของทางราชการ ซึ่งได้จากการประเมินหรือคำนวณตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการจึงไม่ใช่ราคามาตรฐานของงานก่อสร้าง แต่เป็นราคาที่ ทางราชการยอมรับไม่สูงจนผู้ประกอบการได้กำไรมากเกินกว่าที่ควรได้รับ และเป็นราคาที่ไม่ต่ำจนผู้ประกอบการไม่สามารถที่จะดำเนินการก่อสร้างได้

  13. งานก่อสร้าง • งานก่อสร้าง จะต้องกำหนดค่า K • มติ ครม 22 สค 2532และหนังสือที่ นร 0203/ ว 109 ลว 24 สค 2532 เรื่อง การพิจารณาช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพงาน ก่อสร้าง • งานก่อสร้าง หรืองานซ่อมแซมอาคารวงเงินไม่เกิน 1 แสนบาท จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคาหรือไม่ ? • มติ ครม. 6 ก.พ.50 กำหนดให้ งานก่อสร้างทุกงาน ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง

  14. วิธีการจัดซื้อหรือจ้างวิธีการจัดซื้อหรือจ้าง

  15. วิธีการจัดซื้อหรือจ้างวิธีการจัดซื้อหรือจ้าง • วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท • วิธีสอบราคา เกิน100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท • วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท • วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท แต่มีเงื่อนไข • วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีกำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข • วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) • ตามระเบียบฯ พัสดุ ปี 49

  16. วิธีการจัดซื้อหรือจ้าง(6 วิธี) กรณี1: ใช้วงเงินเป็นตัวกำหนดวิธีการ • 1. วิธีตกลงราคา ครั้งหนึ่งไม่เกิน 100,000 บาท • 2. วิธีสอบราคา ครั้งหนึ่งเกินกว่า 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท • 3. วิธีประกวดราคา ครั้งหนึ่งเกินกว่า 2,000,000 บาทขึ้นไป

  17. กรณี2: ใช้วงเงินและเงื่อนไขเป็นตัวกำหนดวิธีการ • 4. ซื้อโดยวิธีพิเศษ • วงเงินเกินกว่า 100,000 บาท • เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งตามข้อ 23 • จ้างโดยวิธีพิเศษ • วงเงินเกินกว่า 100,000 บาท • เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งตามข้อ 24

  18. กรณี3: ใช้เงื่อนไขเป็นตัวกำหนด 5. วิธีกรณีพิเศษ ได้แก่ การซื้อ/จ้างจากส่วนราชการ, รัฐวิสาหกิจ, หน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น เงื่อนไข: 5.1) เป็นผู้ทำ/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติหลักการแล้ว 5.2) มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี ให้ผู้ซื้อ / จ้าง

  19. กรณี 4: อื่นๆ • การจัดซื้อ / จ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 • การซื้อ / การจ้าง ครั้งหนึ่งมีราคาตั้งแต่ 2,000,000 บาท • ต่ำกว่า เป็นดุลพินิจ

  20. ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ เจ้าหน้าที่พัสดุ - โดยตำแหน่ง - โดยแต่งตั้ง (ข้าราชการ,ลูกจ้างชั่วคราว,พนักงานราชการ, พนักงานของรัฐ) หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ - โดยตำแหน่ง - โดยแต่งตั้ง (ข้าราชการ) หัวหน้าส่วนราชการ - อธิบดี (ส่วนกลาง) - ผู้ว่าราชการจังหวัด (ภูมิภาค) ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ-จ้าง - หัวหน้าส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด คณะกรรมการต่าง ๆ /ผู้ควบคุมงาน

  21. คณะกรรมการในการซื้อ/จ้างคณะกรรมการในการซื้อ/จ้าง • คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา • คณะกรรมการรับ และเปิดซองประกวดราคา • คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ • คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ • คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ • คณะกรรมการตรวจการจ้าง/ผู้ควบคุมงาน • คณะกรรมการกำหนดราคากลาง(มติคณะรัฐมนตรี)

  22. ข้อห้าม !! • แต่งตั้งกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา • เป็น กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • แต่งตั้งกรรมการเปิดซองสอบราคาหรือพิจารณาผล • การประกวดราคาเป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ

  23. การประชุมของคณะกรรมการการประชุมของคณะกรรมการ

  24. การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง การแบ่งซื้อ แบ่งจ้าง หมายถึง การลดวงเงินที่จะซื้อ หรือจ้างในครั้งเดียวกัน ออกเป็นหลายครั้ง โดยไม่มีเหตุผลความจำเป็น และมีเจตนาที่จะหลีกเลี่ยง 1) แบ่งวงเงิน ให้ลดลงเพื่อเปลี่ยนวิธีจัดหาพัสดุ 2) ให้ผู้มีอำนาจสั่งซื้อ สั่งจ้าง เปลี่ยนไป

  25. วงเงินที่ได้รับมาพร้อมกันหรือไม่ วงเงินที่ได้รับมาพร้อมกันหรือไม่ พัสดุที่จะจัดหาเป็นประเภทเดียวกันหรือไม่ พิจารณาจากความต้องการของผู้ใช้ พัสดุว่าต้องการใช้พร้อมกันหรือไม่ แนวทางการพิจารณาเรื่องแบ่งซื้อแบ่งจ้าง

  26. การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง การจัดซื้อพัสดุประเภทชนิดเดียวกัน แม้ต่างขนาดและราคา เมื่อมีการประมาณการความต้องการในการใช้งานของทั้งปีแล้ว จะต้องจัดซื้อรวมในครั้งเดียวกัน เว้นแต่มีเหตุผลที่ชัดเจนที่จำเป็นต้องแยกซื้อที่ไม่ใช่เป็นการแบ่งซื้อแบ่งจ้าง เพื่อประโยชน์ในการบริหารการพัสดุ จะต้องกำหนดเงื่อนไขในการดำเนินการจัดซื้อโดยใช้สัญญาจะซื้อ จะขายแบบราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ เพื่อออกใบสั่งซื้อเป็นคราว ๆ ให้สอดคล้องกับการใช้งานจริง

  27. เอกสารสอบราคาต้องแสดงรายการ ตามข้อ 40 • ร่างสัญญา รวมทั้งการแบ่งงวดงาน การจ่ายเงิน เงื่อนไขการจ่ายเงินล่วงหน้า (ถ้ามี) และอัตราค่าปรับ • ข้อสงวนสิทธิ์ที่จะไม่พิจารณาผู้เสนอราคาที่เป็นผู้ทิ้งงานของทางราชการ และสิทธิ์ที่จะงดซื้อหรือจ้าง เลือกซื้อจ้าง โดยไม่จำเป็นต้องซื้อจ้างจากผู้เสนอราคาต่ำสุดเสมอไป พิจารณายกเลิกการสอบราคา และลงโทษผู้เสนอราคาเสมือนผู้ทิ้งงาน กรณีไม่สุจริต และมีการสมยอมกันในการเสนอราคา

  28. ผู้เสนอราคาต้องเป็นนิติบุคคลหรือไม่ ? • เป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ • ครม. กำหนดหลักเกณฑ์เพิ่มเติมกรณีงานจ้าง • ก่อสร้างวงเงินตั้งแต่ 1,000,000 บาทขึ้นไป • คุณสมบัติผู้เสนอราคาต้องเป็นนิติบุคคล

  29. ผู้เสนอราคาจำเป็นต้องมีผลงานหรือไม่ ? • งานจ้างก่อสร้าง • เป็นนิติบุคคลและมีผลงานก่อสร้างประเภทเดียวกันกับงานที่จ้างในวงเงินไม่เกินร้อยละ 50 ของวงเงินงบประมาณหรือประมาณการ • (ที่ นร (กวพ) 1305 / ว 7914 ลว 22 กย 2543) • งานซื้อ • หากจำเป็น เป็นดุลพินิจ โดยอนุโลม

  30. หนังสือรับรองผลงาน • ผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้าง หมายถึง • ผลงานที่ใช้เทคนิคในการดำเนินการเหมือนกัน • กับงานที่ประกวดราคาจ้าง • เป็นผลงานในสัญญาเดียว • เป็นสัญญาผู้รับจ้างได้ทำงานแล้วเสร็จตาม • สัญญาที่ได้มีการส่งมอบงานและตรวจรับ • เรียบร้อยแล้ว

  31. หนังสือรับรองผลงาน • ต้องเป็นผลงานที่กระทำสัญญากับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือเอกชน ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างโดยตรง ไม่ใช่ผลงานอันเกิดจากการรับจ้างช่วง

  32. ใครเป็นผู้ออกแบบคุณลักษณะเฉพาะใครเป็นผู้ออกแบบคุณลักษณะเฉพาะ • เจ้าหน้าที่พัสดุ • คณะกรรมการที่ส่วนราชการแต่งตั้งผู้ใช้พัสดุ • งานก่อสร้างแบบรูปรายการ • (อาจจ้างเอกชนเป็นผู้ออกแบบ)

  33. การบริหารสัญญา และหลักประกัน

  34. การบริหารสัญญา ครบกำหนดส่งมอบตามสัญญา กรณีส่งมอบล่าช้า มีค่าปรับ กรณีส่งมอบถูกต้องตามสัญญา ไม่มีค่าปรับ แจ้งสิทธิการเรียกค่าปรับ ส่งมอบพัสดุ ส่งมอบพัสดุ ตรวจรับ สงวนสิทธิ์ค่าปรับ ตรวจรับ เบิกจ่ายเงิน ค่าปรับ เบิกจ่ายเงิน

  35. รูปแบบของสัญญา 1. เต็มรูป 1.1 ทำสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด 1.2 มีข้อความแตกต่าง เสียเปรียบ/ไม่รัดกุม 1.3 ร่างใหม่ 2. ลดรูป ข้อตกลงเป็นหนังสือ (ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง) 2.1 ตกลงราคา 2.2 ส่งของภายใน 5 วันทำการ 2.3 กรณีพิเศษ 2.4 การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ (บางกรณี) 3. ไม่มีรูป 3.1 ไม่เกิน 10,000 บาท 3.2 ตกลงราคา กรณีเร่งด่วน จะไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกันก็ได้ ส่ง สนง.อัยการสูงสุดพิจารณา

  36. เงื่อนไขที่สำคัญของสัญญาเงื่อนไขที่สำคัญของสัญญา 1. ข้อตกลงเรื่องรูปแบบ ปริมาณ จำนวน ราคา2. การจ่ายเงิน (งวดเงิน) 3. การจ่ายเงินล่วงหน้า 4. หลักประกัน 5. การส่งมอบ การตรวจรับ 6. การขยายเวลา งดหรือลดค่าปรับ 7. การปรับ 8. การประกันความชำรุดบกพร่อง

  37. การแบ่งงวดงานและงวดเงินการแบ่งงวดงานและงวดเงิน วัตถุประสงค์ เพื่อให้งานที่จ้างเป็นไปตามลำดับขั้นตอน ตามหลักวิชาการของการก่อสร้าง และการแบ่งจ่ายเงินเมื่อผู้รับจ้างส่งมอบงานในแต่ละงวด เพื่อให้ผู้รับจ้างเกิดสภาพคล่องทางการเงิน และใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการก่อสร้าง การกำหนดจ่ายเงินเป็นงวดนั้น จึงต้องกำหนดให้สัมพันธ์กันระหว่างเนื้องานกับเนื้อเงิน กรณีที่มีการแบ่งงวดงานและงวดเงินแล้ว โดยหลัก ผู้ว่าจ้างไม่อาจรับมอบงานและจ่ายเงินข้ามงวดได้ เว้นแต่ ตามข้อเท็จจริงของหลักวิชาการของการก่อสร้าง งานที่ส่งมอบนั้น เป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องกับงานในงวดก่อนหน้านั้น

  38. ค่าจ้างและการจ่ายเงินค่าจ้างและการจ่ายเงิน สัญญาซื้อขาย/สัญญาจ้างทั่วไป จ่ายตามวงเงินที่กำหนดในสัญญา สัญญาจ้างก่อสร้าง ราคาต่อหน่วย จ่ายตามเนื้องานที่ทำเสร็จจริง ราคาเหมารวม จ่ายตามวงเงินที่กำหนดในสัญญา

  39. สัญญาจะซื้อจะขาย ราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ เป็นสัญญาที่ใช้สำหรับการซื้อขายสิ่งของ ที่ผูกพันผู้จะขายให้ขายสิ่งของนั้น ๆ ตามจำนวนที่ผู้จะซื้อ สั่งซื้อเป็นคราว ๆ ไป โดยมีราคาต่อหน่วยคงที่ ภายในระยะเวลาที่กำหนดในสัญญา จ่ายได้ไม่เกินวงเงินที่กำหนดในสัญญา

  40. Ex.สัญญาจะซื้อจะขายราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ Ex.สัญญาจะซื้อจะขายราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ ส่วนราชการได้รับงบประมาณเป็นค่าจัดซื้อวัสดุประกอบอาหารของบ้านพักเด็กและครอบครัว เนื่องจากจำนวนผู้รับการสงเคราะห์ไม่แน่นอนในแต่ละวัน กรณีนี้งบประมาณได้มารวมทั้งปี จึงสมควรจัดหาในครั้งเดียว เพื่อความโปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม หากมีปัญหาในการประมาณการจำนวนการจัดซื้อวัสดุประกอบอาหาร เนื่องจากจำนวนผู้รับการสงเคราะห์ในแต่ละวันไม่แน่นอน ก็ชอบที่จะกำหนดเงื่อนไขการทำสัญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ โดยสามารถทยอยการสั่งซื้อตามจำนวนและปริมาณตามความต้องการใช้งานในแต่ละวันได้

  41. การจ่ายเงินล่วงหน้า หลักจ่ายไม่ได้ ข้อยกเว้น มีความจำเป็นจะต้องจ่าย มีกำหนดเงื่อนไขไว้ในเอกสารสอบราคา หรือประกวดราคา ก่อนการทำสัญญาหรือข้อตกลง จ่ายได้เฉพาะกรณีและตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด

  42. Ex.การจ่ายเงินล่วงหน้า Ex.การจ่ายเงินล่วงหน้า ผู้รับจ้างมีการเบิกจ่ายเงินล่วงหน้าไปแล้ว 15% ต่อมามีการแก้ไขสัญญาเพิ่มเติมปริมาณงาน ทำให้วงเงินในสัญญาเพิ่มขึ้น ผู้รับจ้างขอเบิกเงินค่าจ้างล่วงหน้า 15% ของวงเงินที่เพิ่มขึ้น เมื่อไม่ได้มีการตกลงไว้ในสัญญาที่แก้ไขเพิ่มเติม จึงไม่สามารถจ่ายได้ ใช้วิธีอื่นแล้วไม่ได้ผลดี จึงได้ดำเนินการโดยวิธีพิเศษ ในหนังสือเชิญชวนมิได้กำหนดเงื่อนไขให้มีการจ่ายเงินล่วงหน้าไว้ ผู้เสนอราคาได้มาขอให้จ่ายเงินล่วงหน้า 15% ก่อนทำสัญญา จึงเป็นการกำหนดเงื่อนไขขึ้นใหม่

  43. หลักประกันการรับเงินล่วงหน้า (ข้อ 70) การจ่ายเงินล่วงหน้า กรณีสอบราคา/ประกวดราคา/วิธีพิเศษ ต้องวางหลักประกันการรับเงินล่วงหน้าเป็น - พันธบัตรรัฐบาลไทย หรือ - หนังสือค้ำประกันของธนาคารภายในประเทศ ยกเว้นการซื้อ/จ้างจากส่วนราชการ การซื้อพัสดุจาก ต่างประเทศ การบอกรับวารสารฯ ไม่ต้องเรียกหลักประกัน

  44. หลักประกันซอง หลักประกันที่ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ที่จะเข้าเสนอราคากับส่วนราชการนำมาวางในขณะยื่นซองเสนอราคา เพื่อประกันความเสียหายในการผิดเงื่อนไขในการเสนอราคา ใช้เฉพาะวิธีประกวดราคา

  45. หลักประกันสัญญา หลักประกันที่ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ที่เป็นคู่สัญญากับส่วนราชการนำมาวางขณะทำสัญญา เพื่อประกันความเสียหายจากการผิดเงื่อนไขตามข้อกำหนดในสัญญา ใช้เป็นหลักประกันจนกว่าจะสิ้นสุดข้อผูกพันตามสัญญา

  46. หลักประกันซอง/หลักประกันสัญญาหลักประกันซอง/หลักประกันสัญญา ให้ใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ 1. เงินสด 2. เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย 3. หนังสือค้ำประกันของธนาคารในประเทศ 4. หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุน 5. พันธบัตรรัฐบาลไทย

  47. มูลค่าหลักประกัน ร้อยละ 5ของวงเงิน / ราคาพัสดุ ที่จัดหาในครั้งนั้น เว้นแต่ การจัดหาที่สำคัญพิเศษ กำหนดสูงกว่าร้อยละ 5 แต่ไม่เกินร้อยละ 10 * กรณีส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ เป็นคู่สัญญา/ผู้เสนอราคา - ไม่ต้องวางหลักประกัน (ข้อ 143)

  48. การคืนหลักประกันซอง คืนหลักประกันซองแก่ผู้เสนอราคาหรือผู้ค้ำประกัน ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้พิจารณาในเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว เว้นแต่ผู้เสนอราคารายที่คัดเลือกไว้ซึ่งเสนอราคาต่ำสุดไม่เกิน 3 ราย คืนได้ต่อเมื่อได้ทำสัญญาหรือข้อตกลง หรือผู้เสนอราคาได้พ้นจากข้อผูกพันแล้ว

  49. การคืนหลักประกันสัญญาการคืนหลักประกันสัญญา ให้คืนหลักประกันสัญญาโดยเร็ว อย่างช้าไม่เกิน 15 วัน นับแต่วันที่คู่สัญญาพ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาแล้ว หนังสือที่ นร (กวพ) 1305/ว 8608 ลงวันที่ 5 ต.ค. 44 ไม่ต้องรอให้มีการร้องขอคืนจากคู่สัญญาก่อน คู่สัญญาไม่มารับภายในกำหนด ให้ปฏิบัติตามข้อ 144 วรรคท้าย พร้อมกับให้มีหนังสือรับรองให้ผู้ค้ำประกันไปด้วยว่า หลักประกันสัญญาดังกล่าว หมดระยะเวลาการค้ำประกันแล้ว

  50. การกำหนดอัตราค่าปรับในสัญญาการกำหนดอัตราค่าปรับในสัญญา กรณีซื้อ /จ้าง ไม่ต้องการผลสำเร็จของงานพร้อมกัน ค่าปรับรายวัน อัตราตายตัว ระหว่างร้อยละ 0.01 – 0.20 ของราคาพัสดุที่ยังไม่ได้รับมอบ กรณีงานจ้างก่อสร้าง ที่ต้องการผลสำเร็จของงานพร้อมกัน ค่าปรับรายวัน เป็นจำนวนเงินตายตัว อัตราร้อยละ 0.01 – 0.10 ของราคางานจ้าง แต่ต้องไม่ต่ำกว่าวันละ 100 บาท จ้างก่อสร้างสาธารณูปโภคที่มีผลกระทบต่อการจราจร ปรับรายวันในอัตรา อัตราร้อยละ 0.25 ของราคางานจ้างนั้น

More Related