1 / 11

คณิศ แสงสุพรรณ

การสัมมนาเชิงวิชาการประจำปี 2556 คณะเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ 2 ปีนโยบายเศรษฐกิจยิ่งลักษณ์ : ความฝันกับความจริง. คณิศ แสงสุพรรณ. การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน.. 2 ล้านล้านบาท (อ.ประชา คุณธรรมดี). ผลการศึกษา : เป็น สิ่งจำเป็นระดับหนึ่ง และควรดำเนินการภายใต้กรอบการศึกษาที่ ชัดเจน

Download Presentation

คณิศ แสงสุพรรณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสัมมนาเชิงวิชาการประจำปี 2556 คณะเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์2 ปีนโยบายเศรษฐกิจยิ่งลักษณ์:ความฝันกับความจริง คณิศ แสงสุพรรณ

  2. การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน.. 2 ล้านล้านบาท (อ.ประชา คุณธรรมดี) ผลการศึกษา: • เป็นสิ่งจำเป็นระดับหนึ่ง และควรดำเนินการภายใต้กรอบการศึกษาที่ชัดเจน • โครงการ..อาจไม่ได้ดำเนินการทั้งหมด เนื่องจาก...ยังไม่ได้ ทำการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ • รถไฟความเร็วสูงและรถไฟฟ้า ไม่ได้มีบทบาทในการลดต้นทุนโลจิสติกส์ของสินค้า และไม่ควรเป็นบริการสาธารณะที่รัฐต้องอุดหนุนราคาค่าโดยสาร ข้อเสนอแนะ: • รัฐจะต้องกำหนดเงื่อนไขบริการสาธารณะ Public Service Obligation • เปิดเผยข้อมูล..การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขนาดใหญ่..เงื่อนไขที่ชัดเจน ..การบริหารเงินกู้ ..การถ่ายทอดเทคโนโลยี..การใช้วัสดุภายในประเทศภายในระยะเวลาที่กำหนด • รัฐไม่ควรละเลยโครงสร้างพื้นฐานของการพัฒนาด้านที่ไม่ใช่วัตถุ เช่น การศึกษา ความพร้อมด้านเทคโนโลยี นวัตกรรม และปัจจัยด้านสถาบัน ซึ่งเป็นปัญหาที่แท้จริงของประเทศไทย

  3. การประเมินผลกระทบจากการปรับนโยบายค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท (ดร.ศุภชัย ศรีสุชาติ) ผลการศึกษา: • การจ้างงานของแรงงานไม่ได้ลดลง • ภาพรวมของการกระจายตัวของรายได้ดีขึ้น • แรงงานในอุตสาหกรรมขนาดเล็กที่มีแรงงานตั้งแต่1-9 คน อาจจะมีการปรับตัวที่น้อย • แนวโน้มที่ลดลงลงของอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น • ไม่ระบุว่าระดับราคาสินค้ามีการปรับตัวสูงขึ้นมากอย่างที่มีการคาดการณ์ • การเคลื่อนย้ายการลงทุนไปยังประเทศอื่นอาจยังไม่มีผลที่ชัดเจนเนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านต่างก็มีการปรับนโยบายค่าจ้างขั้นต่ำในช่วงเวลานี้เช่นกัน ข้อเสนอแนะ: • การกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนเพื่อการกำหนดมาตรการบรรเทาผลกระทบที่ถูกต้องตามกลุ่ม • การสร้างผลิตภาพของแรงงาน..มีความจำเป็น...ต้อง..เป็นระบบ ควรมี..การจ่ายค่าจ้างตามความสามารถ • การดำเนินการของภาครัฐในอนาคตต้องมีการศึกษาผลกระทบรายกลุ่มและมีการเตรียมความพร้อมก่อนการดำเนินนโยบาย

  4. ผลกระทบจากการปรับโครงสร้างภาษีของรัฐบาล (ดร.ภาวิน ศิริประภานุกูล) ผลการศึกษา: • รัฐบาลสูญเสียรายได้ 2556 – 2563 • ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ราว 2.32 ล้านล้านบาท • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 3.05 แสนล้านบาท • มูลค่าภาษีที่รัฐบาลสูญเสียไป • ไม่น่าจะสามารถเพิ่มความสามารถในการทำหน้าที่ลดความเหลื่อมล้ำทางด้านเศรษฐกิจให้กับระบบภาษีได้ เนื่องจากเป็นการปรับโครงสร้างที่ไม่ตรงจุด • ไม่น่าจะสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้ เนื่องจาก การปรับโครงสร้างภาษีไม่ใช่ปัจจัยสำคัญในการดึงดูดแรงงานทักษะสูงและเงินลงทุนจากบริษัทข้ามชาติในปัจจุบัน ข้อเสนอแนะ:

  5. ความเปราะบางและความเสี่ยงทางการคลัง ภายใต้นโยบายการลงทุนของรัฐบาล (ศ.ดร. สกนธ์ วรัญญูวัฒนา) ผลการศึกษา: • รายจ่าย..จากนโยบายของรัฐบาลในอดีตถูกจัดสรรรวมเป็นรายจ่ายประจำของระบบงบประมาณที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นมาก • รัฐบาลยังได้มีนโยบายใหม่ที่ได้ผูกพันกลายเป็นภาระทางการคลังของประเทศในระยะสั้นเพิ่มเติม • ประมาณภาระความเสี่ยง..พบว่า • มาตรการการคลังต่างๆ ยังไม่เป็นปัญหาต่อสถานทางการคลังในระยะกลาง เมื่อพิจารณาจากขนาดหนี้สาธารณะต่อ GDP ที่ยังไม่เกินข้อจำกัดหรือช่องว่างทางการคลัง Space) ที่ยังมีเหลือเพียงพอ • แต่หากเกิดความผันผวนทางเศรษฐกิจ ศักยภาพการรองรับความเสี่ยง...อาจไม่สามารถทำได้ ข้อเสนอแนะ: งานศึกษาได้เสนอแนวทางการเตรียมรองรับปัญหาที่อาจเกิดขึ้น คือ • ความจำเป็นต้องมีการเพิ่มศักยภาพการหารายได้จากภาษีของรัฐบาล โดยการปฏิรูประบบภาษีให้เหมาะสมกับสถานการณ์เศรษฐกิจและสังคมของประเทศมากขึ้น • การพยายามที่ต้องจำกัดการขยายตัวการใช้จ่ายเชิงการเมืองที่ไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้น้อยลง

  6. แนวความคิดเพื่อปรับทิศทางเศรษฐกิจ(กรอบการทำนโยบายกระทรวงการคลัง..ก่อนรัฐบาลยิ่งลักษณ์) ข้อจำกัดทางอุปทาน (Supply Constrain) ผลของการพัฒนาไม่เท่าเทียมกัน (Limited Trickle Down Effect) นโยบายตรงต่อประชาชน (Track 2 Policy/ People Policy) เอกชนนำ..แต่ต้องเป็นวาระแห่งชาติ 1 2 3 การฉ้อราษฎร์บังหลวง นักการเมือง/ข้าราชการ เอกชน/ประชาชน ระบบสังคม-การเมือง และการคานอำนาจ นโยบายกระทรวง และ หน่วยงานหลัก..รัฐและเอกชน นโยบายรัฐบาล การกำกับตรวจสอบขององค์กรหลัก..ภาคประชาชน..สื่อมวลชน

  7. กรอบนโยบายปฏิรูปและสร้างความมั่นคงแก่เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยกรอบนโยบายปฏิรูปและสร้างความมั่นคงแก่เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย โดยพรรคเพื่อไทย เพื่อประชาชนคนไทย (2554-58) เศรษฐกิจมหภาคขยายตัวดี ยั่งยืน และ มีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ปฏิรูปเศรษฐกิจจากฐานคนรากหญ้าและคนชั้นกลางให้ขยายตัวดีและยั่งยืนเพื่อกระจายรายได้ให้กับคนรากหญ้าและคนชั้นกลางอย่างเป็นธรรมทันที ภายใน 5 ปี สร้างความมั่นคงและเสถียรภาพด้านอาหารและพลังงานให้ประเทศไทย ราคามีเสถียรภาพ / การกระจายรายได้แก่ฐานคนรากหญ้าและชนชั้นกลางมีความเป็นธรรม สร้างระบบ การกระจายรายได้ ที่เป็นธรรม ยกระดับ ความสามารถในการแข่งขัน ของเศรษฐกิจไทย 3 พืชอุตสาหกรรมยางพารา ขยายพื้นที่และ 1 ล้านไร่ โรงงานแปรรูปขั้นต้นและอุตสาหกรมต่อเนื่องในท้องถิ่น 12 ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน กำแพงป้องกันน้าท่วม น้ำชุมชนเพื่อเกษตรหน้าแล้ง 1.5 ล้าน Mega Projects กระจายอำนาจและ จัดสรรงบประมาณรายจ่าย สู่ท้องถิ่น 25% 4 8 2 7 6 1 11 10 5 9 ลดภาระธุรกิจเอกชน ลดภาษีเงินได้ เหลือ 23% ในปีแรก และ 20% ปีถัดไป ส่งเสริมการท่องเที่ยว ต่างชาติเที่ยวไทย ไทยเที่ยวไทย 2 เท่าใน 4 ปี ผลิตพืชพลังงานโตเร็ว มันสำปะหลัง อ้อย ปาล์มน้ำมัน บัตรเครดิตเกษตรกร ข้าวเปลือกขาว 15000 ข้าวเปลือกหอมมะลิ 20,000 ความมั่นคงด้านพลังงาน บริหารราคาน้ำมันขายปลีก มาตรการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ กองทุนตั้งตัวได้ มหาวิทยาลัยละ 1000 ล้านบาท วิทยาลัยชุมชนเพื่อพัฒนาอาชีพ ลดค่าใช้จ่ายคนชั้นกลางเมื่อเริ่มชีวิตทำงาน บ้านหลังแรก-รถคันแรก หักค่าใช้จ่ายเพิ่มทักษะตัวเอง ค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท/วัน ปริญญาตรี 15,000 บาท/เดือน การศึกษา-สาธารณะสุข One-tablet-one-child (OTOC) ต่อยอด 30 บาท (30บาท+)

  8. ผลการดำเนินงานปีแรกของรัฐบาลยุทธศาสตร์ประเทศ หน้า 25

  9. จัดระบบเข้าสู่การพัฒนาแนวทางใหม่จัดระบบเข้าสู่การพัฒนาแนวทางใหม่ แผนยุทธศาสตร์ประเทศและการเข้าสู่ AEC 2/3 ความสามารถในการแข่งขัน AEC การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในแนวทางใหม่ New Growth Model ปรับระบบ การทำงาน เป็นมิตร สิงแวดล้อม ภารกิจในปีที่ 2 ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง..โดยเน้นการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม..เข้าสู่แนวทางใหม่..New Growth Model เพื่อให้ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับปีแรกเป็นไปอย่างอย่างถาวร และ เพิ่มแนวทางในจากการสร้างรายได้-ลดรายจ่าย-ขยายโอกาส อย่างเป็นระบบและยั่งยืน..ใน 4 ยุทธศาสตร์ การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม การอยู่แบบเป็นมิตรกับธรรมชาติ การปรับระบบการทำงานของประเทศ โดยมี AEC เป็นเป้าหมายระยะสั้นที่จะเปลี่ยนผ่าน การลดความเหลื่อมล้ำ

  10. 4 ยุทธศาสตร์:นโยบายและมาตรการสำคัญ แนวทางการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์ประเทศและการเข้าสู่ AEC การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในแนวทางใหม่--New Growth Model 1 ลงทุนโครงข่ายคมนาคมเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน-Connectivity ความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มมูลค่าเพิ่มและนวัตกรรมให้กับ เกษตร-อุตสาหกรรม-บริการ: Productivity 2 3 5 การพัฒนาเศรษฐกิจตามความเหมาะสมของพื้นที่ทั่วประเทศ Mapping-ระบบน้ำ-Zoningเกษตร-อุตสาหกรรม-ท่องเที่ยวป่าไม้ คุณภาพการศึกษา / ฝีมือแรงงาน ตรงตามความต้องการของสาขาเศรษฐกิจ AEC 6 การพัฒนาเศรษฐกิจทีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ/การเงินการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 4 ปรับระบบ การทำงาน สร้างรายได้-ลดรายจ่าย-ขยายโอกาส ให้กับฐานรากเศรษฐกิจ: SMEs และเศรษฐกิจชุมชน ผ่าน การจำนำสินค้าเกษตร กองทุนตั้งตัวได้-กองทุนสตรี-OTOP-กองทุนหมู่บ้าน-SML เป็นมิตร สิงแวดล้อม 9 ประหยัดพลังงาน..ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ด้วยมาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม/การจัดซื้อภาครัฐ การลดความเหลื่อมล้ำ 7 10 ดูแลตั้งแต่ครรภ์จนสูงอายุ: ดูแลคนไทยทุกคนด้านบริการสาธารณสุข จัดการบริหาร ป่า และ น้ำ ปลูกป่าตามแนวพระราชดำริ..วางระบบนำแบบบูรณาการ 11 แก้ไขคอร์รับชั่น 8 บูรณาการการทำงานใน 3 ระดับ ระดับกระทรวง..แผนและโครงการเชื่อมโยง..ต่อเนื่อง..ถึงชุมชนและประชาชน ระดับกลุ่มจังหวัด..จังหวัดร่วมงานกันเป็นกลุ่มจังหวัด:แนวทาง-แผน-โครงการ ระดับจังหวัด..จังหวัดเป็นแกนกลางระดมความร่วมมือ อปท. ชุมชน ให้เกิดผลกับประชาชน การคุ้มครองและส่งเริมทางสังคม ยาเสพติด..ความปลอดภัยชีวิตและทรัพย์สิน.. ที่อยู่อาศัย..ที่ทำกิน 12

  11. การดำเนินการ • การทำมาตรการประคองเศรษฐกิจในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ • การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันกับการพัฒนาเมือง 2 ล้านล้าน + แนวทางการพัฒนาเมือง 3. การปรับเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน และ ศักยภาพการผลิต • Mapping เพื่อเกษตร และ สร้างทำเลธุรกรรมต่างๆ • Workshop กับผู้ประกอบการ อาหาร ท่องเที่ยว Medical Hub ยาและเครื่องสำอาง • Workshop ด้านประสิทธิภาพคน (การศึกษา+แรงงาน + อุตสาหกรรม + เอกชน) • Workshop ด้านสาธารณสุข 3 กองทุน

More Related