1 / 40

โดย นายสมชาย ศักดาเวคีอิศร ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน

ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) และบทบาทของกระทรวงคมนาคมกับการพัฒนาในระยะต่อไป. โดย นายสมชาย ศักดาเวคีอิศร ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน. วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2554

Download Presentation

โดย นายสมชาย ศักดาเวคีอิศร ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)และบทบาทของกระทรวงคมนาคมกับการพัฒนาในระยะต่อไป โดยนายสมชายศักดาเวคีอิศร ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2554 การสัมมนา เรื่อง “ทิศทางของกระทรวงคมนาคมภายใต้ประชาคมอาเซียน และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10” ณ อาคารสโมสรและหอประชุมกระทรวงคมนาคม ชั้น 3

  2. ประเด็นนำเสนอ 1 ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) 2 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทย 3 ประเด็นพัฒนาด้านโลจิสติกส์ในระยะต่อไป 4 ข้อเสนอแนะภารกิจของกระทรวงคมนาคม

  3. ปฐมบท แผนพัฒนา ฯ ภาพรวมสังคมไทยมีภูมิคุ้มกันเพิ่มขึ้นแต่ยังไม่เพียงพอ จำเป็นต้องสร้างให้เข้มแข็งยิ่งขึ้นใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านวัตถุ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านวัฒนธรรม

  4. ผลการพัฒนาในช่วง 3 ปีแรกของแผนฯ 10 จากแผนฯ 10 ................... ถึงปัจจุบัน 2547 3 ปีแรกของแผนฯ 10 (50 - 51) เชื่อมโยงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง เช่นASEAN +3, ASEAN +6 เป็นต้น สัดส่วนการส่งออกไทยในโลก เพิ่มขึ้นเป็น 1.12% (ช่วงแผนฯ 9 = 1.08%) ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก • ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีใหม่เพิ่มขึ้นอย่างเนื่อง • มีการจดสิทธิบัตรเพิ่มมากขึ้นในประเทศไทย เช่น สิทธิของยีนความหอมในข้าว เทคโนโลยี * ยังคงมีโรคระบาดใหม่เกิดขึ้น เช่น ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 (AH1N1) สังคม แรงงานต่างด้าวในประเทศไทยยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และผู้หลบหนีเข้าเมือง เช่น โรฮิงญา • สิ่งแวดล้อม ภาวะอากาศแปรปรวน น้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง • ราคาน้ำมันยังคงผันผวน ทำสถิติสูงสุดที่ 147 $/bbl (กลางปี 51) • การผลิตพลังงานทางเลือกจากพืช ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม การเคลื่อนย้ายคนเสรี 4

  5. ผลการพัฒนาเศรษฐกิจ 3 ปีแรกของแผนฯ 10

  6. ผลการพัฒนาเศรษฐกิจ 3 ปีแรกของแผนฯ 10

  7. ผลการพัฒนาเศรษฐกิจ 3 ปีแรกของแผนฯ 10

  8. ความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ    

  9. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจและผลการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจและผลการพัฒนา สัดส่วนการผลิตรายสาขาต่อ GDP เปรียบเทียบอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจและผลิตภาพการผลิตรวมของไทย % % ที่มา : สำนักบัญชีประชาชาติ สศช. ที่มา : สำนักบัญชีประชาชาติ สศช. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจ การเติบโตจากจากการเพิ่มปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิต  ประเทศไทยปรับเปลี่ยนโครงสร้างการผลิตจากเดิมซึ่งเป็นประเทศกสิกรรมมาสู่ประเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม  สัดส่วนภาคอุตสาหกรรมสูงกว่าภาคเกษตรกรรมเป็นครั้งแรกและขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 เป็นต้นมา การขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ผ่านมามีที่มาจากการเพิ่มปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิตเป็นหลัก ภายใต้ข้อจำกัดด้านทรัพยากร การพัฒนาตามแนวทางเดิม ประเทศไทยจะสูญเสียความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจในระยะยาว

  10. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและภาพรวมการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและภาพรวมการพัฒนา % สัดส่วนการจ้างงานตามภาคการผลิต การขยายตัวทางเศรษฐกิจที่มีที่มาจากการเพิ่มปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิตเป็นหลัก โดยที่ประสิทธิภาพการใช้ปัจจัยการผลิตไม่เพิ่มขึ้น เศรษฐกิจขยายตัวดีแต่ยังขาดคุณภาพและความยั่งยืน ที่มา : สำนักบัญชีประชาชาติ สศช. โครงสร้างการจ้างงาน ผลจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจ  ปัญหาสังคมเชิงโครงสร้าง ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ การเข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจ และความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ  การพัฒนาขาดความสมดุลและความยั่งยืน เศรษฐกิจเติบโตอย่างเปราะบาง สังคมมีปัญหาจากการแข่งขัน  ความเหลื่อมล้ำทางสังคม ผลประโยชน์จากการพัฒนามักตกอยู่กับประชาชนบางส่วนของประเทศ โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม  ประชาชนส่วนใหญ่ซึ่งอยู่ในภาคเกษตรและบริการเป็นเจ้าของการผลิตในประเทศในสัดส่วนที่น้อยลงเรื่อยๆ

  11. โครงสร้างการส่งออก-นำเข้าของไทยโครงสร้างการส่งออก-นำเข้าของไทย • สินค้าอุตสาหกรรมยังเป็นสินค้าส่งออกหลักมาโดยตลอด และมีสัดส่วนเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากไทยยังคงเป็นฐานการผลิตเพื่อส่งออกที่สำคัญ • ขณะที่สัดส่วนการส่งออกสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรลดลง • การนำเข้าสินค้าทุน สินค้าวัตถุดิบและสำเร็จรูปมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากผู้ประกอบการไทยสามารถผลิตชิ้นส่วนในประเทศได้มากขึ้น โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมยานยนต์ • อย่างไรก็ตาม ยังคงมีการนำเข้าสินค้าดังกล่าวในสัดส่วนที่สูง เมื่อเทียบกับการนำเข้าในภาพรวมของประเทศ ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร * ปีสุดท้ายของแผนฯ

  12. สถานภาพความสามารถในการแข่งขันโดยรวมของประเทศไทยสถานภาพความสามารถในการแข่งขันโดยรวมของประเทศไทย ความสามารถในการแข่งขันของไทยปี 2546 - 2553 • ประเทศไทยมีระดับความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจระดับปานกลาง (Middle Income Tier) • ช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา อันดับความสามารถในการแข่งขันของไทยอยู่ในระดับทรงตัวหรือมีทิศทางปรับตัวแย่ลง ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของไทยแยกตามปัจจัยหลักของ IMD* • จุดแข็ง • สมรรถนะเศรษฐกิจโดยรวม • กลุ่มที่มีการปรับตัวดีขึ้น • ประสิทธิภาพของภาครัฐ • ประสิทธิภาพของภาคเอกชน • จุดอ่อน • โครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี * จำนวนประเทศในการจัดอันดับของ IMD แต่ละปีอยู่ที่ประมาณ 55-58 ประเทศ

  13. จากแผนฯ 10 สู่แผนฯ 11

  14. การประเมินสถานการณ์ ความเสี่ยงและการสร้างภูมิคุ้มกัน

  15. การประเมินสถานการณ์ ความเสี่ยงและการสร้างภูมิคุ้มกัน

  16. หลักการของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11

  17. วิสัยทัศน์และพันธกิจของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11

  18. วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักวัตถุประสงค์และเป้าหมายหลัก

  19. ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนายุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา

  20. ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนายุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา

  21. ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งและโลจิสติกส์ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งและโลจิสติกส์

  22. การบริหารจัดการด้านการเงิน การบริหารจัดการด้านการคลัง ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างยั่งยืนและมีคุณภาพ วัตถุประสงค์ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้เจริญเติบโตอย่างยั่งยืนและมีคุณภาพ รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสร้างระบบการแข่งขันเสรีและเป็นธรรม ให้ไทยเป็นประเทศผู้นำการผลิตสินค้าและบริการบนฐานปัญญา นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในภูมิภาคอาเซียน การพัฒนาระบบการแข่งขันที่เป็นธรรม แนวทางการดำเนินงาน การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนและมีคุณภาพ การปรับโครงสร้างภาคการค้าและการลงทุน การปรับโครงสร้างภาคการผลิตและบริการ พัฒนาตลาดเงินและตลาดทุน ลงทุนเพื่อพัฒนา วทน. โครงสร้างพื้นฐาน และพลังงาน การปฏิรูปกฎหมายเศรษฐกิจ และกฎ ระเบียบต่างๆ การบริหารจัดการเศรษฐกิจส่วนรวม เป้าหมายและตัวชี้วัด เศรษฐกิจขยายตัวอย่างยั่งยืนและมีคุณภาพ (GDP ขยายตัวไม่ต่ำกว่าเฉลี่ยร้อยละ 5 (6) ต่อปี TFP รวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี (เกษตรร้อยละ 1.5 อุตสาหกรรมร้อยละ 5 บริการร้อยละ 3) เพิ่มสัดส่วนมูลค่าภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรต่อ GDP ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 15 ภาคบริการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 และยกระดับอุตสาหกรรมสู่การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และพัฒนาสินค้าและบริการสร้างสรรค์ให้มีอัตราการขยายตัวไม่ต่ำกว่าร้อยละ 5 ต่อปี เลื่อนอันดับความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจเป็นอันดับ 16 ของโลกเพิ่มอันดับความสามารถในการประกอบธุรกิจให้เป็น 1 ใน 10 ของโลก เพิ่มสัดส่วนค่าใช้จ่ายลงทุน R&D ต่อ GDP ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 สัดส่วนการลงทุน R&D ของภาคเอกชนต่อภาครัฐเพิ่มขึ้นเป็น 70:30 ลดสัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP เหลือร้อยละ 13 /เพิ่มสัดส่วนการขนส่งทางรางเป็นร้อยละ 5 5. เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกต่อ ปริมาณการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายไม่น้อยกว่าร้อยละ 19 ลดสัดส่วนการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ลดความเข้มข้นการใช้พลังงานลงร้อยละ 2 ต่อปี 6. เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ของ SMEs ต่อ GDP ให้มีสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 40

  23. แนวทางการพัฒนา :การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจโดยใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์เป็นพื้นฐานสำคัญในการขับเคลื่อนสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนและมีคุณภาพ

  24. แนวทางการพัฒนา : การพัฒนาระบบการแข่งขันที่เป็นธรรม

  25. แนวทางการพัฒนา : การพัฒนาระบบการแข่งขันที่เป็นธรรม

  26. ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม การสร้างความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนาเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม จุดเน้นของยุทธศาสตร์ “ให้ความสำคัญกับ 3 วง ของกรอบความร่วมมือ” รวมทั้งประเด็นการพัฒนา ร่วมและปัจจัยสนับสนุน • อนุภูมิภาค (GMS, IMT-GT, ACMECS, BIMSTEC) • อาเซียน (ASEAN) • อาเซียน+3, อาเซียน+6, เอเปค, และอื่นๆ 1 2 3 2 3 1

  27. ประเด็นนำเสนอ 1 ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) 2 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทย 3 ประเด็นพัฒนาด้านโลจิสติกส์ในระยะต่อไป 4 ข้อเสนอแนะภารกิจของกระทรวงคมนาคม

  28. การพัฒนาธุรกิจโลจิสติกส์การพัฒนาธุรกิจโลจิสติกส์ การปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า การพัฒนากำลังคนและกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทย (2550 - 2554) ครม. ให้ความเห็นชอบเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2550 วิสัยทัศน์ มีระบบโลจิสติกส์ที่ได้มาตรฐานสากลเพื่อสนับสนุนการเป็นศูนย์กลางธุรกิจและการค้าของภูมิภาคอินโดจีน วัตถุประสงค์ • ลดต้นทุนโลจิสติกส์ (Cost Efficiency) เพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า (Responsiveness)และเพิ่มความปลอดภัยและความเชื่อถือได้ในกระบวนการนำส่งสินค้าและบริการ (Reliability and Security) • สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจจากอุตสาหกรรมโลจิสติกส์และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ประเด็นยุทธศาสตร์ การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ในภาคการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพระบบขนส่งและโลจิสติกส์ 2 1 3 4 5 ระดับเป้าหมาย - มุ่งยกระดับการบริหารจัดการโลจิสติกส์ไปสู่ระดับ World Class Logistics Management ระดับยุทธศาสตร์ - มีจุดเน้นไปที่การยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเป้าหมายหลักของประเทศ ระดับปฏิบัติ - การปรับเปลี่ยนในระดับปฏิบัติ (Change Management) จะต้องยึดความต้องการของผู้ใช้บริการเป็นที่ตั้ง หลักการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์

  29. โครงสร้างการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศโครงสร้างการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ ระดับนโยบาย คณะกรรมการพัฒนาระบบการบริหารจัดการขนส่งสินค้าและบริการของประเทศ (กบส.) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ พ.ศ. 2550-2554 ระดับปฏิบัติการ การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ในภาคการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพระบบขนส่งและโลจิสติกส์ การพัฒนาธุรกิจโลจิสติกส์ การปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า การพัฒนากำลังคน ระบบข้อมูล และกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 1 2 3 4 5 หน่วยงานรับผิดชอบหลัก ก.อุตสาหกรรม / ก.เกษตรฯ ก.คมนาคม ก.พาณิชย์ ก.คลัง ก.ศึกษาธิการ/ ก.แรงงาน/สศช. คณะอนุกรรมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจฝั่งตะวันตก คณะอนุกรรมการการเชื่อมโยงข้อมูลแบบบูรณาการสำหรับการนำเข้า การส่งออก และโลจิสติกส์ คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบโลจิสติกส์การเกษตร คณะอนุกรรมการฯ คณะทำงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของรประเทศ พ.ศ. 2555-2559 คณะทำงาน

  30. การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ... ยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์ของกระทรวงคมนาคม ยุทธศาสตร์ พัฒนาเครือข่ายโลจิสติกส์ในประเทศ ให้เชื่อมโยง อย่างบูรณาการ สนับสนุนการใช้ รูปแบบและวิธีการ บริหารจัดการขนส่ง เพื่อการประหยัดพลังงาน พัฒนาเส้นทางการค้า สู่ตะวันออกกลาง แอฟริกา ยุโรป ผ่านทาง ฝั่งทะเลอันดามัน เพื่อรองรับการขยายตัวของประเทศเพื่อนบ้าน แนวทาง  พัฒนาระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ(Multimodal Transport) พัฒนาระบบการรวบรวมและกระจายสินค้าตามจุดยุทธศาสตร์ต่างๆ ในประเทศ ปรับเปลี่ยนไปใช้การขนส่งทางรางและทางน้ำมากขึ้น (Modal Shift) ประยุกต์ใช้วิธีการขนส่งที่ทันสมัย รวมทั้งใช้เทคโนโลยีการขนส่งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุน พัฒนาท่าเรือน้ำลึก ที่มีศักยภาพทางฝั่งตะวันตก พัฒนาเส้นทางเชื่อมโยงท่าเรือกับเส้นทางของประเทศและภูมิภาค ที่มา กระทรวงคมนาคม

  31. ภาพรวมต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศภาพรวมต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศ ต้นทุนการขนส่งสินค้าเป็นองค์ประกอบที่ใหญ่ที่สุด โดยมีสัดส่วนประมาณร้อยละ 49 ของต้นทุนโลจิสติกส์ทั้งหมด • ในปี 2552 ประเทศไทยมีต้นทุนโลจิสติกส์ประมาณ 1.5 ล้านล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 16.8 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ณ ราคาประจำปี (GDP) ลดลงจากร้อยละ 18.6 ของ GDP ในปี 2551ประกอบด้วย • ต้นทุนค่าขนส่งสินค้า ร้อยละ 8.3 ของ GDP(สัดส่วนร้อยละ 49) • ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ร้อยละ 7.0 ของ GDP(สัดส่วนร้อยละ 42) • ต้นทุนการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ร้อยละ 1.5 ของ GDP (สัดส่วนร้อยละ 9) ที่มา สศช., ธปท. • ในปี 2553 คาดว่าต้นทุนโลจิสติกส์ฯ อยู่ที่ระดับประมาณร้อยละ 17.9 ต่อ GDP ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2552 เนื่องจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก และการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย รวมทั้งราคาน้ำมันที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของต้นทุนโลจิสติกส์มีการปรับตัวสูงขึ้น

  32. โครงสร้างการขนส่งสินค้าของประเทศไทยโครงสร้างการขนส่งสินค้าของประเทศไทย เปรียบเทียบการขนส่งสินค้าภายในประเทศระหว่างปี 2551 และปี 2552 การขนส่งสินค้าในประเทศ การขนส่งทางถนนยังคงเป็นรูปแบบหลักสำหรับการขนส่งภายในประเทศ โดยในปี 2552 คิดเป็นสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 84ของปริมาณขนส่งสินค้าภายในประเทศทั้งหมดซึ่งคิดเป็น 423.7 ล้านตัน การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ เปรียบเทียบการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศระหว่างปี 2550 และปี 2552 แม้ว่ารูปแบบหลักของการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศยังคงใช้การขนส่งทางเรือ อย่างไรก็ตามการขนส่งทางถนนขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2552 ประเทศไทยมีปริมาณการขนส่งสินค้าข้ามชายแดนทางรถบรรทุก รวมกว่า 21 ล้านตัน โดยคิดเป็นร้อยละ 10 ของปริมาณขนส่งสินค้าระหว่างประเทศรวมในปี 2552 ซึ่งเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัวเมื่อเทียบกับปี 2550 10% 5% 92% 89% ที่มา สศช.

  33. AEC 2015 • การจัดตั้งระบบ NSW • ปรับปรุงกระบวนการและกฎระเบียบ • ขาดแคลนเจ้าหน้าที่ IT Flagship Projects 9% ต้นทุนบริหารจัดการ • โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ • ฉะเชิงเทรา-ศรีราชา • แก่งคอย • การขนส่งชายฝั่งและลำน้ำ • ท่าเรือกรุงเทพฯ • ท่าเรือแหลมฉบัง • ความเชื่อมโยงท่าเรือภาคใต้ • การเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งทางถนน • การพัฒนาผู้ประกอบการสู่ความเป็นมืออาชีพ • การยกระดับทักษะพนักงานขับรถบรรทุก • การพัฒนาจุดพักรบรรทุกและFacility ชายแดน • การปฏิรูปการกำกับดูแลกิจการขนส่งทางถนน 49% ต้นทุนขนส่ง แผนเพิ่มประสิทธิภาพรถไฟฯ 176,000 ล้านบาท ประเด็นติดตามความก้าวหน้าแผนงาน/โครงการภายใต้แผนพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ • การพัฒนาธุรกิจ LSPs • ร่าง พรบ.LSPs • แผนพัฒนาธุรกิจ LSPs • การเพิ่มประสิทธิภาพโลจิสติกส์ภาคการผลิต • แผนแม่บทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม • แผนแม่บทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์การเกษตร 42% ต้นทุนเก็บรักษาสินค้าคงคลัง • การพัฒนากำลังคนด้านโลจิสติกส์ทั้งระบบ • ขีดความสามารถในการยกระดับฝีมือแรงงาน • หลักสูตรการสอนโลจิสติกส์ในอาชีวะและอุดมศึกษา • มาตรฐานวิชาชีพโลจิสติกส์

  34. ประเด็นนำเสนอ 1 ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) 2 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทย 3 ประเด็นพัฒนาด้านโลจิสติกส์ในระยะต่อไป 4 ข้อเสนอแนะภารกิจของกระทรวงคมนาคม

  35. การประเมินสภาวะแวดล้อมด้านขนส่งและโลจิสติกส์: สภาพปัญหาและข้อจำกัดภายในประเทศ โครงข่ายถนน จำเป็นต้องได้รับการปรับปรุงมาตรฐานและการบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่สามารถให้บริการได้อย่างปลอดภัย รวมทั้งแก้ปัญหาในจุดที่เป็นคอขวด (Bottleneck) โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่โดยรอบประตูการค้าหลัก โครงข่ายทางราง ขาดการวางแผนอย่างเป็นระบบ ทำให้โครงข่ายระบบรางมีปัญหาด้านความครอบคลุม ความจุและความเสื่อมโทรมของทางรถไฟ ความไม่เพียงพอของหัวรถจักรและล้อเลื่อน รวมทั้งขาดความต่อเนื่องของการพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลชน คุณภาพคนขับรถบรรทุกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งและลดต้นทุนการใช้พลังงาน ความร่วมมือจากภาคเอกชนในการรวบรวมปริมาณสินค้าและระบุความต้องการทางธุรกิจ การบูรณาการระบบเชื่อมโยงข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง (e-transport) เพื่อเชื่อมต่อเป็นระบบเดียวกับระบบ National Single Window โครงข่ายทางน้ำ มีข้อจำกัดทางกายภาพของลำน้ำสายหลัก ทำให้ขนส่งได้บางช่วงเท่านั้น นอกจากนี้การขนส่งทางชายฝั่งไม่สามารถแข่งขันกับการขนส่งทางถนนและรางได้เต็มที่ โครงข่ายทางอากาศ การใช้พื้นที่ขนส่งสินค้าปลอดอากร (Custom Free Zone) ของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิไม่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจได้เต็มศักยภาพ กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวกับการขนส่งระหว่างประเทศและการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ

  36. การประเมินสภาวะแวดล้อมด้านขนส่งและโลจิสติกส์: ปัจจัยแวดล้อมที่จะเกิดขึ้นในระยะต่อไป การเชื่อมโยงความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในภูมิภาค (Globalization) การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันระดับโซ่อุปทาน(Supply Chain Competitiveness) • AEC • GMS • IMT-GT • บรรุลุเป้าหมายการลดต้นทุนทางโลจิสติกส์และเพิ่มมูลค่าเพิ่มของประเทศ การเชื่อมโยงขนถ่ายสินค้าข้ามแดน (Cross-border Transport) การมุ่งพัฒนาระบบโลจิสติกส์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Logistics) ผลกระทบต่อการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ • ลดกระบวนการ/ขั้นตอนการขนส่งสินค้าผ่านแดน/ข้ามแดน • มีมาตรฐานและกฎระเบียบด้านต่างๆร่วมกัน เช่น ความปลอดภัย การจำกัดน้ำหนักในการขนส่ง เป็นต้น • การแลกเปลี่ยนระบบข้อมูล(ASW) • ลดอัตราการปล่อยมลพิษ • ลดการใช้พลังงาน การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบเพื่อลดต้นทุน (MutimodalTransport) การเปิดเสรีธุรกิจบริการขนส่งและโลจิสติกส์(LSPs Liberalization) • สนับสนุนการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ • พัฒนากลุ่มเครือข่ายวิสาหกิจตามแหล่งการผลิต และสิ่งอำนวยความสะดวกในการขนส่ง • ความร่วมมือทางธุรกิจกับผู้ประกอบการต่างชาติ • บริษัทข้ามชาติเสมือนเป็นพันธมิตรทางการแข่งขัน

  37. วิสัยทัศน์: โอกาสและศักยภาพของประเทศไทย (Country’s Positioning) ขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจไทย ศูนย์กลางการขนส่งสินค้าทางอากาศของอาเซียน การเชื่อมโยงและเติบโตของธุรกิจระหว่างประเทศบนระเบียงเศรษฐกิจ (Economic Corridors) ระบบและบริการโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพสูงในระดับแนวหน้าของโลก ศูนย์กลางการเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานของภูมิภาค (Center of the Regional Supply Chain Headquarters) ศูนย์กลางการผลิตและโลจิสติกส์ของอาหารฮาลาล มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ

  38. ประเด็นนำเสนอ 1 ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) 2 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทย 3 ประเด็นพัฒนาด้านโลจิสติกส์ในระยะต่อไป 4 ข้อเสนอแนะภารกิจของกระทรวงคมนาคม

  39. การเพิ่มประสิทธิภาพระบบขนส่งและโลจิสติกส์การเพิ่มประสิทธิภาพระบบขนส่งและโลจิสติกส์ การพัฒนาธุรกิจโลจิสติกส์ การปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า การพัฒนากำลังคน ข้อมูลและกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ข้อเสนอแนะภารกิจกระทรวงคมนาคมตามแนวของประเทศไทยในระยะต่อไป ข้อเสนอแนะการทำงานในระยะต่อไป การวางพื้นฐานการพัฒนา (Logistics Fundamentals) วิสัยทัศน์ • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ควรให้ความสำคัญกับ • การวางบทบาทเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning) • การเชื่อมต่อโครงข่ายอย่างบูรณาการ (Network Linkages) • แผนธุรกิจเพื่อบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานให้เกิดประโยชน์สูงสุด (Business Model for Utilization) มีระบบโลจิสติกส์ที่ได้มาตรฐานสากลเพื่อสนับสนุนการเป็นศูนย์กลางธุรกิจและการค้าของภูมิภาคอินโดจีน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย พ.ศ. 2550 - 2554 • ลดต้นทุนโลจิสติกส์ (Cost Efficiency) เพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า (Responsiveness)และเพิ่มความปลอดภัยและความเชื่อถือได้ในกระบวนการนำส่งสินค้าและบริการ (Reliability and Security) • สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจจากอุตสาหกรรมโลจิสติกส์และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง วัตถุประสงค์ เร่งรัด/ผลักดันแผนงานโครงการที่ได้รับอนุมัติแล้วให้เกิดผลเป็นรูปธรรมเพื่อตอบโจทย์ Modal Shift ของประเทศ เช่น แผนเพิ่มประสิทธิภาพรถไฟ เป็นต้น การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ในภาคการผลิต ประเด็นยุทธศาสตร์ สนับสนุนการเชื่อมโยงระบบโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกระหว่างประเทศในกรอบความร่วมมือของภูมิภาค • พัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลด้านการขนส่ง (e-transport) เพื่อเชื่อมต่อเป็นระบบเดียวกับระบบ NSW 1 2 3 4 5 ครม. ให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2550 • การทำงานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพลังงาน เป็นต้น

  40. ขอบคุณครับwww.nesdb.go.th

More Related