1 / 71

แนวทางการขอรับทุนและทิศทางงานวิจัย

แนวทางการขอรับทุนและทิศทางงานวิจัย. โดย. สุนันทา สมพงษ์ ผู้อำนวยการภารกิจโครงการและประสานงานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.). บรรยาย 2 2 ส.ค. 2550 ที่ม . เกษตรศาสตร์. ก รอบการวิจัย ปี 2550. ด้านโครงการวิจัยสานเกลียวคู่นวัตกรรมด้านพลาสติกชีวภาพ. 1. 2. 3. 4. 5.

Download Presentation

แนวทางการขอรับทุนและทิศทางงานวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการขอรับทุนและทิศทางงานวิจัยแนวทางการขอรับทุนและทิศทางงานวิจัย โดย สุนันทา สมพงษ์ ผู้อำนวยการภารกิจโครงการและประสานงานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) บรรยาย 22 ส.ค. 2550 ที่ม.เกษตรศาสตร์

  2. กรอบการวิจัยปี 2550

  3. ด้านโครงการวิจัยสานเกลียวคู่นวัตกรรมด้านพลาสติกชีวภาพด้านโครงการวิจัยสานเกลียวคู่นวัตกรรมด้านพลาสติกชีวภาพ 1 2 3 4 5 ด้านการพยากรณ์ป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติเกี่ยวกับน้ำ ด้านมลพิษทางอากาศของประเทศไทยภายใต้ปรากฏการณ์โลกร้อน ด้านการศึกษาวิจัยปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้านแผนงานพลังงานทดแทน ข้อกำหนดการวิจัย 20 ด้าน

  4. ด้านเศรษฐกิจพอเพียง 6 7 8 9 ด้านการพัฒนาสังคมไทยสู่สังคมการเรียนรู้และการแก้ปัญหาทางเพศและยาเสพติด ด้านการศึกษาปัญหาด้านสาธารณสุขที่ได้รับการจัดลำดับความสำคัญสูงสุดระดับประเทศ ด้านปัญหาเกี่ยวกับการดูแลและการให้บริการสุขภาพผู้สูงอายุ และบุคคลพิการทั่วไป ด้านการวิจัยและพัฒนาเกษตรอินทรีย์มาตรฐานส่งออก 10 ข้อกำหนดการวิจัย

  5. ด้านปัญหาเกี่ยวกับแรงงานไทยภายในประเทศ แรงงานไทยในต่างแดนและแรงงานต่างด้าวในประเทศ ด้านการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (OTOP) ด้านปัญหาเกี่ยวกับเยาวชนกรณีการติดเกมส์และแรงงาน ด้านอิทธิพลของสื่อต่อสังคมไทย ด้านการวิจัยและพัฒนาสัตว์เศรษฐกิจ (สัตว์ปีก) 11 12 13 14 15 ข้อกำหนดการวิจัย

  6. ด้านการออกแบบเพื่อลดผลกระทบต่อสภาวะโลกร้อนและลดความเสี่ยงในการเกิดโรคร้ายด้านการออกแบบเพื่อลดผลกระทบต่อสภาวะโลกร้อนและลดความเสี่ยงในการเกิดโรคร้าย ด้านการวิจัยและพัฒนาสัตว์เศรษฐกิจ (สุกร) ด้านการวิจัยและพัฒนาสัตว์เศรษฐกิจ (โค) ด้านการวิจัยและพัฒนาอาหารไทย อาหารสุขภาพเพื่อการส่งออก ด้านการวิจัยและพัฒนาเซลล์เชื้อเพลิง 16 17 18 19 20 ข้อกำหนดการวิจัย

  7. กรอบการวิจัยปี 2551

  8. ตามหัวข้องานวิจัยที่สอดรับกับนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของ วช. และแก้ไขปัญหาของชาติทั้งเร่งด่วนและระยะยาว การส่งเสริมการวิจัย โดยวช. วช. เสนอของบประมาณเพื่อให้ทุน

  9. 2 3 1 4 5 กลุ่มเรื่องการวิจัยเร่งด่วน การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง ความมั่นคงของรัฐและการเสริมสร้างธรรมาภิบาล การปฏิรูปการศึกษา การจัดการน้ำ การพัฒนาพลังงานทดแทน

  10. 6 7 8 9 10 กลุ่มเรื่องการวิจัยเร่งด่วน การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออกและลดการนำเข้า การป้องกันโรคและการรักษาสุขภาพ การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพ เทคโนโลยีใหม่และเทคโนโลยีที่สำคัญเพื่ออุตสาหกรรม การบริหารจัดการการท่องเที่ยว

  11. การเขียนข้อเสนอตามแบบฟอร์มการเขียนข้อเสนอตามแบบฟอร์ม แบบฟอร์มตามที่แหล่งทุนกำหนดและตามประเภทของงบประมาณ เช่น • ของบประมาณปกติ ใช้แบบฟอร์ม วช-1ช วช-1ด • ขอจากงบของ วช. ใช้แบบฟอร์ม ภค-1ช ภค-1ด สามารถสืบค้นได้จาก www.nrct.net

  12. ส่วนสำคัญของข้อเสนอ • ชื่อเรื่อง • วัตถุประสงค์ • เป้าหมาย ผลผลิต ตัวชี้วัด ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ • แผนการดำเนินงาน • กระบวนการวิจัย(ชัดเจนมีความเป็นไปได้สูง) • การนำไปใช้ประโยชน์(แผนการถ่ายทอดชัดเจน) • งบประมาณ • คณะนักวิจัยและประสบการณ์ สิ่งสำคัญ • ต้องไม่ขอทุนซ้ำซ้อน • มีจรรยาบรรณ

  13. เขียนโครงการให้ได้งบประมาณเขียนโครงการให้ได้งบประมาณ 1. ต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์ หรือความเข้าใจในงานวิจัยที่จะทำอย่างชัดเจน 2.อาศัยความสามารถในการค้น คัดเลือก ความรู้จากแหล่งอื่นที่ใช้เป็นกรอบทางทฤษฎี ประกอบกับความสามารถในการประมวล จัดระเบียบและเรียบเรียงข้อความต่างๆ

  14. เขียนโครงการให้ได้งบประมาณเขียนโครงการให้ได้งบประมาณ 3. การเขียนมีลำดับขั้นตอนที่จำเป็นดังต่อไปนี้ (1) มีการวางโครงร่าง ( outline ) (2) เตรียมเนื้อหาสาระ ( Content ) (3)เขียนร่าง ( draft ) (4) ขัดเกลาสำนวนเป็นภาษาเขียน (5) ตรวจและแก้ไขปรับปรุง 4. ใช้ภาษาอย่างถูกต้อง กระชับ ชัดเจน สมเหตุผล ไม่ควรเขียนวกวน ใช้ภาษาที่ไม่เป็นทางการ

  15. เขียนโครงการให้ได้งบประมาณเขียนโครงการให้ได้งบประมาณ 5. เขียนให้เกิดลักษณะต่อไปนี้ (1) มีเหตุ มีผล (2) ถูกต้อง (3)กระจ่างแจ้ง ชัดเจน (4) สมบูรณ์ ชัดเจน กะทัดรัด (5) สื่อความหมายได้เข้าใจ (6) สัมพันธ์เชื่อมโยง

  16. ข้อเสนอโครงการวิจัยที่ดีข้อเสนอโครงการวิจัยที่ดี • มีโจทย์ที่ชัดเจน และเป็นเอกภาพ • มีคำตอบน่าเชื่อถือและทำได้จริง • มีกระบวนการวิจัยที่ถูกต้อง • มีแผนการดำเนินที่ชัดเจนและมีความเป็นไปได้สูง • เสนอเป้าหมาย ผลผลิต ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับเรื่อง • คณะนักวิจัยมีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้อง • มีความสมบูรณ์ครบทุกประเด็น • มีความสัมพันธ์เชื่อมโยง • ความถูกต้องตามหลักวิชาการ • ความมีเหตุผล • ความกระชับ

  17. ตัวอย่าง โครงการที่ไม่ได้รับการสนับสนุน • ชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์ และกิจกรรมไม่สอดคล้องกัน • มีการค้นคว้าหรือตรวจเอกสารที่ผู้อื่นทำมาแล้วน้อย • หัวหน้าโครงการไม่มีประสบการณ์พอ แต่เขียนโครงการใหญ่เกินไป มีจำนวนนักวิจัยไม่เหมาะสม • ตั้งงบประมาณมากเกินความจำเป็น • เขียนโครงการตามความสนใจของนักวิจัย โดยไม่คำนึงผู้ใช้ประโยชน์ที่ชัดเจน • แผนการดำเนินการและกิจกรรมการวิจัยไม่ชัดเจน

  18. จุดอ่อนและปัญหาที่พบ ในการพิจารณาและประเมินโครงการ

  19. การพิจารณาและประเมินโครงการการพิจารณาและประเมินโครงการ 1) การพิจารณาลักษณะสำคัญเบื้องต้น 2) การพิจารณารายละเอียดของโครงการ

  20. การพิจารณาลักษณะสำคัญเบื้องต้นการพิจารณาลักษณะสำคัญเบื้องต้น 1) สอดคล้องกับกรอบการวิจัยที่ วช. กำหนด 2) ความสำคัญของเรื่อง 3) ประสบการณ์คณะผู้วิจัย 4) ความถูกต้องของระเบียบวิธีวิจัย 5) ความเป็นไปได้ของโครงการ

  21. การพิจารณารายละเอียดโครงการการพิจารณารายละเอียดโครงการ 1) ปัจจัยการวิจัย 2) กระบวนการวิจัย 3)ผลการวิจัย 4) ผลสำเร็จที่คาดว่าจะได้รับ 5) ผลกระทบของแผนงานวิจัย/โครงการวิจัย

  22. 1.ชื่อเรื่อง การประเมินแต่ละองค์ประกอบ - ตรงประเด็นปัญหาการวิจัย - ครอบคลุมประเด็น - ชัดเจน กะทัดรัด บอกทิศทางการวิจัย - สอดคล้องกับประเด็นสำคัญที่ต้องการศึกษา - ชื่อเรื่องเป็นสื่อบอกการศึกษาวิจัย - ต้องไม่ซ้ำซ้อนกับผู้อื่น แม้ประเด็นจะคล้ายหรือแตกต่าง - ภาษาชัดเจน เข้าใจง่าย เป็นศัพท์ที่ยอมรับ

  23. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • สภาพปัญหาของสิ่งที่กำลังจะวิจัย • ผลเสียหรือผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นหากไม่แก้ไข • แผนความคิดเกี่ยวกับวิธีการเพื่อแก้ปัญหานั้น • ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการทำวิจัยเพื่อหาคำตอบหรือแนวทางแก้ไข • เขียนจากขอบเขตที่กว้างหรือใหญ่แล้วค่อยเล็กลงมา

  24. จุดอ่อนที่พบ • ไม่ชัดเจน คลุมเคลือไม่สามารถชี้ให้เห็นความสำคัญของปัญหา • เนื้อหาขาดความสัมพันธ์ต่อเนื่อง • ยาวเกินไป/สั้นเกินไป • ไม่สอดคล้องกับประเด็นสำคัญที่ต้องการศึกษา • ขาดข้อมูลสนับสนุน

  25. ปัญหาของการวิจัย พยายามตอบคำถามต่อไปนี้ให้ได้ • อะไรคืออุปสรรค • กลุ่มเป้าหมายที่ถูกกระทบคือใคร อยู่ที่ไหน • พื้นที่ถูกกระทบอยู่ที่ไหน จำนวนที่ถูกกระทบมากน้อยเท่าใด • ผลวิจัย ผลสรุปของผู้อื่นมีอะไรบ้าง • ความพยายามที่จะแก้ปัญหามีอะไรบ้าง ประสบความสำเร็จมากน้อยเพียงใด • อะไรคือประเด็นที่ยังไม่ได้แก้ไข

  26. 3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย - สอดคล้องกับชื่อเรื่อง - มีความชัดเจนว่าจะศึกษาปัญหาอะไร - ครอบคลุมทุกปัญหาการวิจัย - นำไปสู่การออกแบบการวิจัย - เชื่อมโยงกับความสำคัญของปัญหาและขอบเขตในการวิจัย - การเขียนให้ขึ้นต้นด้วยคำว่า “เพื่อ”

  27. 4. ขอบเขตการวิจัย • กำหนดขอบเขตการวิจัยเฉพาะที่ศึกษา • ระบุตัวแปร • กำหนดระยะเวลา • ขอบเขตพื้นที่ สถานที่รวบรวมข้อมูล • คุณลักษณะของตัวแปรที่ศึกษา • ข้อจำกัดของการวิจัย

  28. 5. สมมติฐานการวิจัย • ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ • มีกรอบแนวคิดชัดเจน รัดกุม ไม่คลุมเครือ • ต้องอธิบายหรือตอบคำถามได้หมด • ตอบปัญหาเดียว • สอดคล้องกับความจริงที่ยอมรับโดยทั่วไป • สมเหตุผลตามทฤษฎีและความรู้ในศาสตร์วิชานั้น • สามารถตรวจสอบได้ มีข้อมูลหลักฐานที่นำมาพิสูจน์ได้ • ใช้ภาษา ถ้อยคำที่เข้าใจง่าย ชัดเจน • คาดคะเนเพื่อตอบโจทย์ปัญหาการวิจัย

  29. 6. ระเบียบวิธีวิจัย เลือกวิธีวิจัยที่เหมาะสม อธิบายขั้นตอนการวิจัยได้ชัดเจน มีขั้นตอนการวิจัยครบสำหรับแต่ละวัตถุประสงค์ ประชากรครอบคลุมทุกกลุ่มที่จะให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การเลือกกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม (ขนาดเป็นตัวแทน)

  30. 6. ระเบียบวิธีวิจัย (ต่อ) • คุณภาพของเครื่องมือ • การรวบรวมข้อมูล (ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม) • ความเหมาะสมของเครื่องมือที่ใช้ • การวิเคราะห์ข้อมูล (เลือกสถิติเหมาะสมสามารถตอบวัตถุประสงค์การวิจัย)

  31. จุดอ่อน ที่พบ • ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • ไม่ชัดเจนว่าประชากรประกอบด้วยกลุ่มใดบ้าง • ระบุประชากรและกลุ่มตัวอย่างไม่ครบ • ไม่ระบุว่าได้กลุ่มตัวอย่างมาจากไหน • เครื่องมือในการวิจัย • ไม่ครอบคลุมเครื่องมือทุกประเภท • ไม่มีรายละเอียดของเครื่องมือแต่ละชนิด • ไม่ชัดเจนว่าเครื่องมือใดใช้กับกลุ่มตัวอย่างใด

  32. จุดอ่อน ที่พบ • การเก็บรวมรวมข้อมูล • - ไม่แสดงรายละเอียดในแต่ละขั้นตอน • - ไม่ระบุระยะเวลาที่ใช้ (เช่นการทดลอง) • การวิเคราะห์ข้อมูล • - ไม่ระบุรายละเอียด ข้อมูลแต่ละประเภท วิเคราะห์อย่างไร • - ไม่ระบุสถิติที่ใช้

  33. แผนการดำเนินงาน • ควรเสนอภารกิจทั้งหมดที่ต้องปฏิบัติตลอดโครงการ • ระบุระยะเวลาที่จะปฏิบัติในแต่ละภารกิจเหล่านั้น ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงความเป็นไปได้ และความเหมาะสมของจังหวะเวลา โดยกำหนดเป็นผังดำเนินการที่ชัดเจนภายใต้ระยะเวลาที่กำหนด • กำหนดระยะเวลาในแต่ละขั้นตอนเป็นระบบและต่อเนื่อง

  34. ตัวอย่างแผนการดำเนินงานตัวอย่างแผนการดำเนินงาน

  35. ตัวอย่างแผนการดำเนินงานตัวอย่างแผนการดำเนินงาน

  36. ตัวอย่างแผนการดำเนินงาน(ต่อ )

  37. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยี • ตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศจำนวน 2ฉบับ • ตีพิมพ์ในวารสารในประเทศจำนวน 3ฉบับ • บรรยายในการประชุมวิชาการต่างประเทศจำนวน 2ครั้ง • บรรยายในการประชุมวิชาการในประเทศจำนวน 3ครั้ง • จัดสัมมนาภายในประเทศจำนวน 1ครั้ง • สาธิตการใช้งานเครื่องยนต์ต้นแบบจำนวน 3 ครั้ง • นำเสนอภาคเอกชน

  38. งบประมาณค่าใช้จ่ายตลอดโครงการงบประมาณค่าใช้จ่ายตลอดโครงการ 1. งบประมาณเหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไป 2. มีการแจกแจงรายละเอียด 3. มีความเป็นไปได้ในการศึกษาวิจัย 4. คำนวณงบประมาณครอบคลุมทุกรายการที่วางแผน 5. ประเมินค่าใช้จ่ายตามความเป็นจริง

  39. งบประมาณค่าใช้จ่ายตลอดโครงการงบประมาณค่าใช้จ่ายตลอดโครงการ คิดคำนวณหรือประมาณการจากภาระงานทั้งหมด โดยจำแนกออกเป็นหมวดค่าใช้จ่ายให้ชัดเจน 1. หมวดค่าจ้างชั่วคราว (สำหรับค่าจ้างคนงาน,ค่าจ้างผู้ช่วยนักวิจัย) 2. หมวดค่าตอบแทน 3. หมวดค่าใช้สอย (ค่าเดินทาง,ไปรษณีย์,พิมพ์.....) 4. หมวดค่าวัสดุ (วัสดุสำนักงาน,วัสดุไฟฟ้า ,เชื้อเพลิง,วัสดุก่อสร้าง...) 5. หมวดครุภัณฑ์

  40. ตัวอย่างงบประมาณของโครงการวิจัยตัวอย่างงบประมาณของโครงการวิจัย

  41. ตัวอย่างงบประมาณของโครงการวิจัยตัวอย่างงบประมาณของโครงการวิจัย

  42. ตัวอย่าง ผลสำเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัย • 1.ได้ทราบอัตราการสัมผัสเชื้อH5N1แต่ไม่เป็นโรค ในกลุ่มเสี่ยงที่อยู่ใกล้ชิดกับไก่ไม่ว่าจะเป็นผู้เลี้ยงไก่ คนเชือดไก่ คนจับไก่ ซึ่งทำงานในโรงเลี้ยงโรงเชือดขนาดเล็ก • 2.ทำให้เกิดการตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน • 3. ได้ทราบถึงปัจจัยเสี่ยงในการทำงาน ให้ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง และประชาชนทั่วไปได้รับทราบการสื่อสารความเสี่ยงนี้ อันจะเป็นแนวทางในการจัดการลดความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ เหมาะสมที่จะให้เกิดความปลอดภัย • 4.ได้เข้าใจพยาธิสภาพของโรค และการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกัน • 5.เป็นแนวทางพัฒนาวิธีการรักษาผู้ป่วย หรือพยากรณ์โรคอาจลดอัตราการตาย • 6.เป็นแนวทางในการพัฒนาวัคซีนป้องกันไข้หวัดสัตว์ปีกสำหรับคน เพื่อการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในคนอีกทางหนึ่ง เสริมกับการป้องกันการติดเชื้อในขั้นต้น

  43. ตัวอย่าง เป้าหมายผลผลิตและตัวชี้วัด

  44. ตัวอย่าง เป้าหมายผลผลิตและตัวชี้วัด

  45. ตัวอย่างเป้าหมายผลลัพท์และตัวชี้วัดตัวอย่างเป้าหมายผลลัพท์และตัวชี้วัด

  46. ตัวอย่างเป้าหมายผลผลิตและตัวชี้วัดตัวอย่างเป้าหมายผลผลิตและตัวชี้วัด

  47. ตัวอย่าง เป้าหมายผลผลิตและตัวชี้วัด

More Related